Page 25 - การศึกษาต้นทุนและผลตอบแทนในการผลิตพืชในพื้นที่ ลุ่มน้ำสาขาภาคใต้ฝั่งตะวันตก ส่วนที่ 2 ปีการผลิต 2541/42
P. 25

16





                  หนังสือสําคัญในที่ดินของตนเอง เปน น.ส.3ก เฉลี่ยครอบครัวละ 4.49 ไร หรือคิดเปนรอยละ  40.93 เปน

                  น.ส.3 เฉลี่ยครอบครัวละ 0.78 ไร  เปน ส.ป.ก.เฉลี่ยครอบครัวละ 3.24 ไร  เปน ส.ค.1 เฉลี่ยครอบครัวละ
                  0.35 ไร และเปน ภ.บ.ท.5และ6  เฉลี่ยครอบครัวละ 2.11 ไร หรือคิดเปนรอยละ 7.11  29.54  3.19 และ

                  รอยละ 19.23  ตามลําดับ  ปญหาการครองชีพของเกษตรกรในหนวยที่ดินนี้ซึ่งเกษตรกรสวนใหญ

                  ประสบเหมือนกัน ไดแกปญหารายไดไมพอรายจายและคาครองชีพที่สูงขึ้น

                             ยางพาราอายุ 14-20 ป  (พันธุRRIM600)  เกษตรกรหัวหนาครอบครัวมีอายุเฉลี่ย 49.00 ป

                  นับถือศาสนาพุทธทั้งหมด   สวนระดับการศึกษาของหัวหนาครอบครัวจบชั้นประถมศึกษาถึงรอยละ

                  88.89  ที่เหลืออีกรอยละ 11.11  จบการศึกษาในระดับชั้นมัธยมศึกษา  จํานวนสมาชิกในครัวเรือนเฉลี่ย
                  ครอบครัวละ 3.67 คน ทําการเกษตรเพียงอยางเดียวเฉลี่ยครอบครัวละ 0.56 คน ทําการเกษตรและรับจาง

                  ในการเกษตรเฉลี่ยครอบครัวละ 0.89 คน  ทําการเกษตรและรับจางนอกการเกษตรเฉลี่ยครอบครัวละ 0.23 คน

                  นอกจากนี้ประกอบอาชีพอื่นๆ  ไดแกลูกจางหนวยงานราชการ  แมบาน  รับจางทั่วไปและไมไดทํางาน
                  เนื่องจาก เรียนหนังสือ  คนชราและผูพิการ เกษตรกรหัวหนาครอบครัวสวนใหญรอยละ 88.89 เปนสมาชิก

                  สถาบันการเกษตร มีเพียงสวนนอยรอยละ 11.11 ไมไดเปนสมาชิก  ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ

                  มีหัวหนาครอบครัวเกษตรกรเปนสมาชิกมากที่สุด   รองลงมาไดแกสหกรณการเกษตรและกลุมการเกษตร

                  ตามลําดับ  ประโยชนที่ไดรับเปนเรื่องของเงินทุนและการจัดหาวัสดุการเกษตรมาจําหนาย  เกษตรกรมีที่ดิน
                  ถือครองเฉลี่ยครอบครัวละ 10.64 ไร เปนที่ดินของตนเองเฉลี่ยครอบครัวละ 9.31 ไร และเปนที่เขาทําเปลา

                  เฉลี่ยครอบครัวละ 1.33 ไร ประเภทหนังสือสําคัญในที่ดินของตนเอง เปน น.ส.3  เฉลี่ยครอบครัวละ 1.89 ไร

                  หรือคิดเปนรอยละ 20.30 เปน ส.ป.ก.เฉลี่ยครอบครัวละ 2.19 ไร และเปน ภ.บ.ท.5และ6 เฉลี่ยครอบครัวละ
                  5.23  ไร  หรือคิดเปนรอยละ 23.52  และรอยละ 56.18  ตามลําดับ  เกษตรกรที่ปลูกยางสวนใหญประสบ

                  ปญหาในการครองชีพ  ปญหาที่สําคัญไดแก  รายไดไมพอรายจายรอยละ 87.50  และปญหาขาดแคลนน้ํา

                  เพื่ออุปโภคบริโภครอยละ 12.50 ของจํานวนเกษตรกรทั้งหมด

                             ยางพาราอายุ 21-25 ป (พันธุRRIM600)  เกษตรกรหัวหนาครอบครัวมีอายุเฉลี่ย 70.80 ป

                  นับถือศาสนาพุทธทั้งหมด     ระดับการศึกษาของหัวหนาครอบครัวทั้งหมดจบการศึกษาเพียงระดับชั้น

                  ประถมศึกษา  จํานวนสมาชิกในครัวเรือนเฉลี่ยครอบครัวละ 2.40  คน  ทําการเกษตรเพียงอยางเดียวเฉลี่ย
                  ครอบครัวละ  0.80 คน  ทําการเกษตรและรับจางในการเกษตรเทากับทําการเกษตรและรับจางนอกการเกษตร

                  คือเฉลี่ยครอบครัวละ 0.40  คนเทากัน  นอกจากนี้ไมไดทํางานเนื่องจาก  เรียนหนังสือและคนชรา

                  เกษตรกรหัวหนาครอบครัวรอยละ 60.00 เปนสมาชิกสถาบันการเกษตร โดยเปนสมาชิกของธนาคารเพื่อ
                  การเกษตรและสหกรณเพียงแหงเดียว  ประโยชนที่ไดรับจากสถาบันแหงนี้คือเรื่องเงินทุน   เกษตรกรมีที่ดิน

                  ถือครองเฉลี่ยครอบครัวละ 11.95 ไร เปนที่ดินของตนเองเฉลี่ยครอบครัวละ 9.55 ไรและเปนที่เขาทําเปลา

                  เฉลี่ยครอบครัวละ 2.40 ไร ประเภทหนังสือสําคัญในที่ดินของตนเองเปน น.ส.3ก ทั้งหมด สําหรับปญหา

                  ในการครองชีพที่สําคัญไดแก ปญหารายไดไมพอรายจาย ปญหาสุขภาพไมดีและปญหาคาครองชีพที่สูงขึ้น
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30