Page 102 - การวิเคราะห์ข้อมูลด้านเศรษฐกิจและสังคมเพื่อวางแผนการใช้ที่ดินในพื้นที่ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำยมตอนล่าง ปีการผลิต 2544/45
P. 102

บทที่ 5


                                                      สรุปและขอเสนอแนะ



                                จากผลของการศึกษาสภาวะทางเศรษฐกิจและสังคมโดยทั่วไปของเกษตรกร           ตลอดจน
                     สภาพการผลิตพืชเศรษฐกิจที่สําคัญ จําแนกตามหนวยที่ดินทั้งหมด 28 หนวยที่ดินในเขตลุมน้ําสาขาแม

                     น้ํายมตอนลาง   ปรากฏวาลุมน้ําสาขาแมน้ํายมตอนลางมีเนื้อที่ทั้งหมด  7,010,875 ไร หรือ 11,217.40

                     ตารางกิโลเมตร  คิดเปนรอยละ 45.97  ของพื้นที่ลุมน้ําสาขาแมน้ํายมทั้งหมด  ประกอบดวยพื้นที่บางสวน
                     ของ 7 จังหวัดภาคเหนือตอนกลาง ไดแก จังหวัดแพร  อุตรดิตถ  สุโขทัย  พิษณุโลก  พิจิตร  กําแพงเพชร

                     และนครสวรรค  แตพื้นที่สวนใหญจะอยูในเขต 3 จังหวัดติดตอกัน คือ สุโขทัย  พิจิตร และกําแพงเพชร

                     หัวหนาครัวเรือนมีอายุเฉลี่ย 46.08 ป  สวนใหญเฉลี่ยรอยละ 99.72  ของประชากรทั้งหมด นับถือศาสนา

                     พุทธ การศึกษาระดับประถมศึกษามากสุดเฉลี่ยรอยละ  87.60   สมาชิกในแตละครัวเรือนเฉลี่ยครัวเรือน
                     ละประมาณ 4.13 คน  ในจํานวนนี้จะเปนผูอยูในวัยแรงงานเฉลี่ย  3.08 คน  และอยูนอกวัยแรงงานเฉลี่ย

                     1.05 คน  ผูที่อยูในวัยแรงงานสวนใหญจะทําการเกษตรในครอบครัวแตเพียงอยางเดียว ลักษณะการถือ

                     ครองที่ดินของครัวเรือนเกษตรจะมีเนื้อที่ถือครองเฉลี่ยครัวเรือนละ 35.30 ไร  และจะเปนเนื้อที่ถือครอง
                     ของตนเองเสียสวนใหญเฉลี่ยครัวเรือนละ 25.11  ไร    สวนหนังสือสําคัญในที่ดินจะเปนโฉนดมากที่สุด

                     เฉลี่ยรอยละ  53.14 ของเนื้อที่ถือครองของตนเอง    รองลงมา  ไดแก ส.ป.ก.4-01  และ น.ส.3 ตาม

                     ลําดับ  เกษตรกรที่ใชเนื้อที่ถือครองสวนใหญในการปลูกขาว  ทั้งขาวนาปและขาวนาปรัง   บางครั้งขา

                     วนาปรังสามารถปลูกไดถึง 2  ครั้ง  ขาวเจาที่ปลูกนอกจากจะใชเพื่อการบริโภคในครัวเรือน   แตยังเก็บผล
                     ผลิตสวนหนึ่งนําไปขายได   นอกจากเกษตรกรใชเนื้อที่เพื่อการปลูกขาวแลว  ยังมีพืชเศรษฐกิจอีกหลาย

                     ชนิดที่ปลูกในเขตลุมน้ําสาขาแมน้ํายมตอนลางไดแก  พืชไรชนิดตางๆ  เชน  ถั่วเหลือง  ถั่วเขียวผิวมัน

                     ยาสูบ  ออย   กลวย  มันสําปะหลัง   เปนตน  และไมผล/ไมยืนตน   เชน   สมเขียวหวาน  สมโอ  มะมวง
                     เปนตน    ครัวเรือนเกษตรจะมีรายได 2 ทางคือ รายไดในฟารมและรายไดนอกฟารม   รวมมีรายไดทั้ง

                     หมดเฉลี่ยครอบครัวละ 175,127.74 บาท ซึ่งจะเปนรายไดจากพืชมากที่สุดเฉลี่ยรอยละ  83.73  ของรายได

                     ทั้งหมด  ในสวนของรายจาย  ไดแก  รายจายในฟารมและรายจายนอกฟารมหรือคาใชจายในการครองชีพ
                     รวมมีรายจายทั้งหมดเฉลี่ยครอบครัวละ 139,079.22 บาท  ซึ่งสวนใหญจะเปนคาใชจายในการผลิตพืชเฉลี่ย

                     รอยละ  69.16  ของคาใชจายทั้งหมด ดังนั้นครัวเรือนเกษตรจะมีรายไดสุทธิหรือเงินออมเฉลี่ยครัวเรือนละ

                     36,048.52 บาท

                                ในสวนของสภาพการผลิตพืชโดยทั่วไป  จากการกําหนดคุณสมบัติของดินออกเปนหนวยที่ดิน

                     ทั้งหมด 28 หนวยที่ดิน ในพื้นที่ลุมน้ําสาขาแมน้ํายมตอนลางมีการใชประโยชนที่ดินในแตละหนวย
   97   98   99   100   101   102   103   104   105   106   107