Page 70 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจข้าวนาปรัง
P. 70

3-2








                              - สภาวะการหยั่งลึกของราก (Rooting conditions  : r) คุณลักษณะที่ดินที่เปนตัวแทน
                       ไดแก ความลึกของดิน ความลึกของระดับน้ําใตดิน และชั้นการหยั่งลึกของราก โดยความยากงาย

                       ตอการหยั่งลึกของรากในดินมีปจจัยที่เกี่ยวของ ไดแก ลักษณะเนื้อดิน โครงสรางของดิน การเกาะตัว

                       ของดิน และปริมาณกรวดหรือเศษหินที่พบในหนาตัดดิน
                              - ความเสียหายจากน้ําทวม (Flood hazard : f)  คุณลักษณะที่ดินที่เปนตัวแทน ไดแก

                       จํานวนครั้งที่น้ําทวมในชวงรอบปที่กําหนดไว

                              - การมีเกลือมากเกินไป (Excess of salts : x)  คุณลักษณะที่ดินที่เปนตัวแทน ไดแก

                       ปริมาณเกลืออิสระที่สะสมมากเกินพอจนเปนอันตรายตอการเจริญเติบโตของพืช
                              - สารพิษ (Soil toxicities : z) คุณลักษณะที่ดินที่เปนตัวแทน ไดแก ระดับความลึกของ

                       ชั้น jarosite  ซึ่งจะมีอิทธิพลตอปฏิกิริยาดิน จะทําใหดินเปนกรดจัดมาก ปริมาณซัลเฟตของเหล็ก

                       และอะลูมินั่มในดินจะสูงมากจนเปนพิษตอพืช

                              - สภาวะการเขตกรรม (Soil workability : k) คุณลักษณะที่ดินที่เปนตัวแทน ไดแก
                       ชั้นความยากงายในการเขตกรรม ซึ่งอาจหมายถึง การไถพรวนโดยเครื่องจักรหรือสัตวหรือ

                       เครื่องมืออื่นๆ ที่ใชมือก็ได ชั้นระดับความยากงายในการไถพรวนใชมาตรฐานเดียวกันกับ

                       การจัดลําดับการหยั่งลึกของราก แตใชเฉพาะดินบนเทานั้น
                              - ศักยภาพการใชเครื่องจักร (Potential for mechanization : w) คุณลักษณะที่ดินที่เปน

                       ตัวแทน ไดแก ความลาดชันของพื้นที่ ปริมาณหินโผล ปริมาณกอนหิน และการมีเนื้อดินเหนียวจัด

                       ซึ่งปจจัยทั้ง 4 นี้อาจเปนอุปสรรคตอการไถพรวนโดยเครื่องจักร

                              - ความเสียหายจากการกัดกรอน (Erosion hazard : e) คุณลักษณะที่ดินที่เปนตัวแทน
                       ไดแก ความลาดชันของพื้นที่



                       3.1  ระดับความตองการปจจัยสําหรับพืช


                              จากการศึกษาและรวบรวมขอมูลเกี่ยวกับพืชที่มีปลูกในพื้นที่ตางๆ และศึกษาเกี่ยวกับ
                       ความเปนไปไดของการสงเสริมการปลูกเพื่อการแขงขันทางการคา แลวทําการศึกษาถึงระดับ

                       ความตองการปจจัยตอการเจริญเติบโตและขอเดนขอดอยโดยใหสอดคลองกับคุณภาพของที่ดิน

                       ที่ไดกําหนดไว

                              พบวามีความตองการปจจัยและสิ่งแวดลอมที่แตกตางกัน โดยสามารถแบงได 3  กลุม
                       ความตองการ ไดแก (1) ความตองการดานพืช  (2) ความตองการดานการจัดการ  และ (3) ความตองการ

                       ดานการอนุรักษ





                       เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจขาวนาปรัง                     สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75