Page 73 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจข้าวนาปรัง
P. 73

3-5








                       การจัดทําตารางคุณภาพที่ดิน
                              คุณภาพที่ดิน คือ คุณสมบัติของที่ดินมีผลตอการเจริญเติบโตและผลผลิตของพืช

                       คุณภาพที่ดินประกอบดวย คุณสมบัติที่ดิน (Land  characteristic)  คือ ในดินแตละกลุมชุดดินมี

                       ลักษณะและคุณสมบัติแตกตางกันไป จากการศึกษาคุณลักษณะที่ดินของกลุมชุดดินตางๆ ทั้ง 62
                       กลุมชุดดินที่ไดกลาวมาแลว สามารถแจกแจงคุณภาพที่ดินที่สําคัญๆ เพื่อนํามาจัดความเหมาะสม

                       ของที่ดิน ดังตารางที่ 3-2


                       3.3    การจัดชั้นความเหมาะสมของที่ดิน



                              ในการจัดชั้นความเหมาะสมของที่ดิน ตามหลักเกณฑของ FAO  Frame  work เปนการจําแนก
                       ความเหมาะสมของที่ดินสําหรับการใชประโยชนที่ดินในการปลูกพืชเศรษฐกิจ โดยการพิจารณา

                       เปรียบเทียบความตองการปจจัยสําหรับพืชเศรษฐกิจขาวนาปรังกับคุณภาพของกลุมชุดดินวามีความ

                       เหมาะสมอยูในระดับใดและมีขอจํากัดใดบาง โดยไดจําแนกความเหมาะสมออกเปน 4 ชั้น (Class)
                       คือ ชั้นที่ 1 เหมาะสมสูง (S1)   ชั้นที่ 2 เหมาะสมปานกลาง (S2)   ชั้นที่ 3 เหมาะสมเล็กนอย (S3)

                       และชั้นที่ 4 ไมเหมาะสม (N)  นอกจากนี้ในแตละชั้นความเหมาะสมยังแบงออกเปนชั้นยอย

                       (Subclass)  ซึ่งเปนขอจํากัดของคุณภาพที่ดินที่มีอิทธิพลตอการเจริญเติบโตของพืช ในที่นี้
                       ไดแสดงความเหมาะสมของที่ดินแคระดับชั้น (Class) การจําแนกความเหมาะสมของที่ดิน

                       สําหรับพืชเศรษฐกิจขาวนาปรัง จะเปนการจัดชั้นความเหมาะสมของที่ดินโดยพิจารณาจากปจจัยที่

                       เกี่ยวของกับสมบัติทางกายภาพและทางเคมีของดิน ซึ่งจากการประเมินความเหมาะสมของที่ดิน

                       สําหรับพืชเศรษฐกิจขาวนาปรังโดยใชปจจัยดังกลาวไดแสดงไวดังตารางที่ 3-3  ซึ่งจะนําไปใชใน
                       การพิจารณากําหนดเขตการใชที่ดินสําหรับพืชเศรษฐกิจขาวนาปรัง ตอไป

                                ผลการประเมินจัดชั้นความเหมาะสมทางกายภาพของกลุมชุดดินสําหรับทํานาปรัง ที่

                       นําไปใชในการกําหนดเขต พอสรุปไดดังนี้
                                1) กลุมชุดดินที่มีความเหมาะสมสูง มีเนื้อที่ 7,287,456 ไร คิดเปนรอยละ 70.99 ของเนื้อที่

                       เหมาะสมทั้งหมด

                                2) กลุมชุดดินที่มีความเหมาะสมปานกลาง มีเนื้อที่ 2,261,459 ไร คิดเปนรอยละ 22.03

                       ของเนื้อที่เหมาะสมทั้งหมด
                                 3) กลุมชุดดินที่มีความเหมาะสมเล็กนอย มีเนื้อที่ 716,719 ไร คิดเปนรอยละ 6.98 ของ

                       เนื้อที่เหมาะสมทั้งหมด








                       เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจขาวนาปรัง                     สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78