Page 51 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจข้าวนาปรัง
P. 51

2-34








                       2.5  สภาพการผลิตและการใชประโยชน


                                       ขาวเปนพืชเศรษฐกิจที่สําคัญของประเทศไทยและควบคูมากับวิถีชีวิตคนไทย
                       ซึ่งนอกจากจะเปนอาหารหลักใชบริโภคในชีวิตประจําวันแลว ขาวยังเปนสินคาเกษตรสงออก

                       อันดับ 1 ของประเทศไทย ปริมาณการสงออกขาว เปนอันดับ 1 ของโลกมาอยางตอเนื่องกวา 20 ป

                       โดยสามารถผลิตขาวไดเปนอันดับ 6 ของโลก รองจากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน อินเดีย

                       อินโดนีเซีย บังคลาเทศและเวียดนาม ตามลําดับ
                                  สภาพการผลิต ชวงปเพาะปลูก 2538-2547 ประเทศไทยมีพื้นที่ปลูกขาวนาปรังเฉลี่ย

                       7.44 ไรตอป ผลผลิตเฉลี่ย 5.05  ลานตันตอป ผลผลิตเฉลี่ย 683  กิโลกรัมตอไร  ป 2547 มีพื้นที่

                       ปลูกขาวนาปรัง 9.441 ลานไร (ลดลงจากปเพาะปลูก 2546 รอยละ 1.06 เนื่องจากปญหาการขาดแคลน

                       น้ําจากความแหงแลง) ผลผลิตขาวนาปรัง 6.341 ลานตัน (ลดลงจากปเพาะปลูก 2546 รอยละ 1.46)
                       ผลผลิตเฉลี่ยตอไร 681 กิโลกรัม (เพิ่มขึ้นจากปการปลูก 2546 รอยละ 0.44) ทั้งนี้ อาจเนื่องจากการใช

                       ปจจัยการผลิตมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นหรือเกษตรกรใชพันธุที่มีคุณภาพสูงขึ้น เปนตน ในชวง 10 ป

                       ดังกลาว พื้นที่เพาะปลูกขาวนาปรังมีแนวโนมเพิ่มขึ้น โดยเพิ่มขึ้นในอัตราเฉลี่ยรอยละ 9.12 ตอป
                       ผลผลิตเพิ่มขึ้นเฉลี่ยรอยละ 10.71 ตอปและผลผลิตตอไรในชวง 10 ป โดยเฉลี่ยแลวไมมี

                       การเปลี่ยนแปลง สําหรับราคาขายผลผลิตขาวเปลือกเจานาปรังที่เกษตรกรขายได ในป 2547

                       ที่ความชื้น 14 -15 เปอรเซ็นต ราคาเกวียนละ 5,354 บาท ความชื้น 16-17 เปอรเซ็นต ราคาเกวียนละ

                       5,277 บาท ที่ความชื้น 18-19 เปอรเซ็นต ราคาเกวียนละ 5,090 บาท และความชื้นเกิน 19 เปอรเซ็นต

                       ราคาเกวียนละ 4,215 บาท ราคาขายขาวเจาระดับนาปรังเพิ่มขึ้นจากป 2546 รอยละ  14.08-18.43
                       (ตามระดับความชื้น) ในชวงระยะ 10 ป เกษตรกรขายขาวนาปรังไดราคาสูงสุดในป 2541 โดยราคาขาย

                       เกวียนละ 5,976-6,881 บาท หลังจากนั้นราคาขายลดลงและเพิ่มขึ้นในป 2547 ดังกลาวแลว ในชวง

                       ดังกลาวราคาขายขาวนาปรังความชื้น 14-15 เปอรเซ็นต เพิ่มขึ้นในอัตราเฉลี่ยรอยละ 4.67 ตอป
                       ความชื้น 16-17 เปอรเซ็นต เพิ่มขึ้นในอัตราเฉลี่ย 9.98  ตอป ความชื้น 18-19 เปอรเซ็นต เพิ่มขึ้นใน

                       อัตราเฉลี่ย 10.92 ตอป และความชื้นเกิน 19 เปอรเซ็นต เพิ่มขึ้นในอัตราเฉลี่ย  5.97  ตอป  (ตารางที่ 2-12)

                                  เมื่อเปรียบเทียบผลผลิตขาวของประเทศไทยกับประเทศในเอเชียที่เปนผูผลิตขาว

                       ที่สําคัญ ปรากฏวาในป 2545 พื้นที่ทํานาของไทยซึ่งอยูในเขตชลประทานประมาณรอยละ 70
                       ประสบกับปญหาการขาดแคลนน้ําเนื่องจากความแหงแลงและการชลประทานไมสมบูรณ

                       เสี่ยงตอการขาดแคลนน้ําในชวงเพาะปลูก สงผลใหผลผลิตเฉลี่ยตอไรทั้งประเทศคอนขางต่ํา

                       เมื่อเปรียบเทียบกับประเทศผูผลิตขาวที่สําคัญของโลก ไดแก ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน เวียดนาม







                       เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจขาวนาปรัง                     สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56