Page 49 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจข้าวนาปรัง
P. 49

2-32








                       มากขึ้น นอกจากสถานการณการเพาะปลูกปจจุบันมีปญหาเรื่องน้ําแลว ราคาน้ํามันที่สูงขึ้นอยาง
                       ตอเนื่องก็จะสงผลกระทบตอตนทุนการเพาะปลูกเชนกัน ทั้งนี้จากตัวเลขทางสถิติพบวาปจจุบัน

                       ป 2548 มีพื้นที่เพาะปลูกขาวนาปรังทั่วประเทศรวมกันประมาณ 8 ลานไร ขณะที่น้ํามันที่ใชใน

                       การผลิตขาวนาปรังตกไรละ 12.78 ลิตร ซึ่งสวนใหญเปนตนทุนในการสูบน้ําเขานา โดยเฉพาะการสูบ
                       น้ําบาดาลและจากคลองสงน้ําในสภาพน้ําขาดแคลน  ซึ่งถือเปนตนทุนการผลิตที่สําคัญของ

                       เกษตรกรจริง  จะทําใหตนทุนการผลิตของเกษตรกรเพิ่มขึ้น  โดยนาปรังจะมีตนทุนตอไรเพิ่มขึ้น

                       ประมาณ 60-70 บาท สงผลใหตนทุนของการเพาะปลูกเพิ่มขึ้นในสวนของขาวนาปรังประมาณ
                       500-600 ลานบาท อยางไรก็ตาม จะพบวามาตรการการสงเสริมการปลูกพืชใชน้ํานอยเปนมาตรการ

                       หนึ่งชวยลดปญหาดังกลาวได  ดังนั้น  ผลกระทบจากปญหาความแหงแลง  เพราะฝนทิ้งชวงเร็ว

                       กวากําหนดนับแตปลายเดือนกันยายนปที่แลวนั้น  นอกจากจะสรางความเสียหายตอพื้นที่การ
                       เพาะปลูกขาวนาปรังแลวในฤดูการผลิตประจําป 2547/2548  แลว  ยังมีความเปนไปไดสูงที่อาจจะ

                       สงผลกระทบตอเนื่องไปยังฤดูการผลิตประจําป 2548/2549 อีกดวย

                                สําหรับการแกไขปญหาความแหงแลงในป 2547/2548 ไดดําเนินการใน 3 ลักษณะ คือ

                       การทําฝนหลวง การจัดหาน้ําใหแกพื้นที่ที่ขาดแคลนน้ําโดยตรง และการบริหารการจัดสรรน้ําจาก
                       แหลงกักเก็บน้ําตางๆ โดยหนวยงานภาครัฐที่เกี่ยวของสําหรับน้ําเพื่อการเกษตรไดทําการใชเครื่องสูบน้ํา

                       สรางทํานบ/ฝายเก็บกักน้ํา และขุดลอกแหลงน้ํา การบริหารการจัดสรรน้ํา ไดทําการจัดสรรน้ําจาก

                       อางเก็บน้ําตางๆ ใหแกการอุปโภค บริโภค เปนอันดับแรก โดยลดปริมาณการสงน้ําจากเขื่อนตางๆ

                       จํานวนรอยละ 10 ของปริมาณน้ําที่เคยสงและขอความรวมมือเกษตรกรในจังหวัดลุมน้ําเจาพระยาตอนลาง
                       งดการปลูกขาวนาปรัง ครั้งที่ 2

                                ดังนั้น อาจสรุปไดวา จากสภาวะความแหงแลงในป 2548 มีแนวโนมสอเคารุนแรงมากขึ้น

                       เนื่องจากปริมาณน้ําในเขื่อนสําคัญหรืออาจเรียกไดวาเปนน้ําตนทุนที่เก็บกักไวมีปริมาณนอยมาก
                       อยางนาเปนหวง จากปญหาการตัดไมทําลายปาตนน้ํา ทําใหฝนไมตกในพื้นที่เหนือเขื่อน น้ําไหลเขา

                       เขื่อนนอยลงทุกป  สวนฝนที่ตกใตเขื่อนก็ไมมีการเก็บกักไวใชอยางมีประสิทธิภาพ  ทั้งที่มีปริมาณ

                       ฝนตกมากจนเกิดปญหาภาวะน้ําทวมในบางพื้นที่ นอกจากนี้ ผลของการปลูกขาวนาปรังมากกวาที่
                       ทางราชการกําหนดในเขตภาคเหนือตอนลาง  ทําใหมีการใชน้ํามากกวาที่มีการคาดการณไว

                       รวมทั้งการกักเก็บน้ําเพื่อกักตุนน้ําไวใช ทั้งโดยการสรางฝายชั่วคราวทดน้ําไว หรือการสูบน้ําขึ้นไป

                       กักตุนไว รวมกับภาวะตระหนกวาจะไมมีน้ําในชวงฤดูแลงนี้ สงผลกระทบตอพื้นที่ภาคกลางทําให
                       การปลูกพืชในฤดูแลงโดยเฉพาะการปลูกขาวนาปรังประสบปญหาการขาดแคลนน้ํา  ทั้งที่ยังไมถึง

                       หนาแลงจัดในชวงเดือนเมษายนของทุกปในปนี้แลงเร็วขึ้น และภาวะแลงจะกินระยะเวลานานกวา

                       ทุกปที่ผานมา  ผลกระทบตอเกษตรกรที่ไดรับความเสียหายจากการที่เสี่ยงทํานาปรังแลวไมมีน้ําเพียงพอ





                       เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจขาวนาปรัง                     สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54