Page 48 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจข้าวนาปรัง
P. 48

2-31








                       คอนขางดีตอดานการเพาะปลูกของไทยที่ดีกวาหลายๆ  ประเทศในแถบนี้ก็คือ  การที่พื้นที่ของ
                       ประเทศไทยมีความเหมาะสมตอการปลูกพืชไดหลายชนิด ซึ่งแตละชนิดตางก็เปนที่ตองการของ

                       ตลาดแทบทั้งสิ้น  ขณะที่ความตองการดานการเจริญเติบโตของแตละชนิดพืชนั้นตางกัน  คือ  มี

                       พืชที่ใชน้ําเพื่อการเจริญเติบโตนอยแตสามารถปลูกไดในแทบทุกพื้นที่ของประเทศไทย
                       ดังนั้นกระทรวงเกษตรและสหกรณ จึงไดกําหนดนโยบายใหปลูกพืชฤดูแลงทดแทน เพื่อลดพื้นที่

                       ทํานาปรังในฤดูการผลิตนี้  เพราะปริมาณน้ําตนทุนในเขื่อนมีคอนขางจํากัด  ซึ่งอาจจะทําให

                       เกษตรกรไดรับความเดือดรอนจากภาวะขาดแคลนน้ําได
                                สําหรับพื้นที่เปาหมายการปลูกพืชฤดูแลงในป 2547/48  ทั้งประเทศ  ตามมติ

                       คณะอนุกรรมการวางแผนและสงเสริมการปลูกพืชฤดูแลง  ไดกําหนดพื้นที่เพาะปลูกไวประมาณ

                       10.19 ลานไร ประกอบดวย ขาวนาปรังประมาณ 7.52 ลานไร แยกเปนเขตชลประทานประมาณ
                       5.4 ลานไร และนอกเขตชลประทาน 2.12 ลานไร ในสวนของพืชไรพืชผัก ไดกําหนดไวประมาณ

                       2.67 ลานไร แยกเปนในเขตชลประทานประมาณ 0.95 ลานไร และนอกเขตชลประทาน 1.72 ลานไร

                       ดังนั้น เพื่อเปนการลดการใชน้ําในเขื่อนและอางเก็บน้ําตางๆ โดยเฉพาะเขตลุมน้ําเจาพระยา

                       ซึ่งมีโครงการชลประทานขนาดใหญ  และมีการทํานาปรังมากถึงรอยละ 80  ของนาปรังทั้ง
                       ประเทศ จึงควรปรับเปลี่ยนหันไปปลูกพืชที่ใชน้ํานอยแทน

                                จากสถานการณความแหงแลงและการลดลงของปริมาณน้ําชลประทานเพื่อการเพาะปลูก

                       อันเกิดจากปรากฏการณเอลนิโญในชวงที่ผานมา  จึงทําใหผลผลิตขาวในป 2548  จะต่ํากวาที่

                       คาดการณไว  และเนื่องจากฝนทิ้งชวงตั้งแตเดือนตุลาคมที่ผานมา  ไดทําใหเกิดการขาดแคลนน้ํา
                       อยางหนักพื้นที่เพาะปลูกขาว  โดยเฉพาะในเขตภาคเหนือและอีสานไดรับความเสียหายอยางหนัก

                       สงผลใหผลผลิตขาวในฤดูการผลิตประจําป 2548/2549  จะลดลงเหลือเพียง 18-19  ลานตันเทานั้น

                       จากเดิมที่คาดวานาจะผลิตไดประมาณ 22 ลานตัน ซึ่งถือวาต่ําสุดในรอบระยะเวลา 10 ปที่ผานมา
                       ซึ่งทําใหหลายพื้นที่ของประเทศตองประสบปญหาและสรางความเสียหายตอการเพาะปลูกขาว

                       อยางหนัก  โดยเฉพาะขาวนาปรังที่ตองใชปริมาณน้ํามากกวาปกติ  และจากการสํารวจพบวามี

                       พื้นที่เพาะปลูกขาวนาปรัง สูงกวาที่คาดการณไวจริงนับแสนไร ขณะที่คณะกรรมการพืชฤดูแลง
                       ไดกําหนดพื้นที่ปลูกไวรวมกันไมเกิน 7.52  ลานไร  นอกจากนี้  วิกฤติการณดังกลาวยังสรางความ

                       เสียหายตอการเพาะปลูกฤดูแลงอื่นๆ  อีกดวย  สําหรับแนวทางแกปญหานั้น  นอกจากการบริหาร

                       จัดการน้ําอยางเปนระบบที่รัฐบาล และหนวยงานที่เกี่ยวของกําลังดําเนินการแลว เกษตรกรเองก็ตอง
                       วางแผนการเพาะปลูกพืชไรใหดี โดยเฉพาะในพื้นที่ขาดแคลนน้ําที่สําคัญควรวางแผนการเพาะปลูกพืช

                       ฤดูแลง เชน พืชตระกูลถั่วทดแทนการเพาะปลูกขาวนาปรัง ผลกระทบจากปญหาความแหงแลง

                       จะสงผลดานลบตอการผลิตพืชโดยเฉพาะขาวนาปรัง เพราะมีการขยายพื้นที่เพาะปลูกในภาคตางๆ





                       เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจขาวนาปรัง                     สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53