Page 54 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจข้าวนาปรัง
P. 54

2-36








                       ซึ่งไดผลผลิตขาวเฉลี่ย 990  และ 699 กิโลกรัมตอไร ตามลําดับ ขณะที่ประเทศไทยไดผลผลิต
                       ขาวนาปเฉลี่ย 345 กิโลกรัมตอไร ผลผลิตขาวนาปรังเฉลี่ย 674 กิโลกรัมตอไร ผลผลิตขาวในเขตพื้นที่

                       ชลประทานเฉลี่ย 491 กิโลกรัมตอไร ผลผลิตขาวนาปเฉลี่ยของประเทศไทยต่ํากวาของประเทศพมา

                       ปากีสถานและอินเดีย ซึ่งไดผลผลิตขาวเฉลี่ย 464  461  และ 450 กิโลกรัมตอไร ตามลําดับ
                       สวนขาวนาปรังซึ่งปลูกในเขตชลประทานไดผลผลิตเฉลี่ยตอไรไมแตกตางจากประเทศที่ผลิตขาว

                       ในทวีปเอเชียมากนัก  (ตารางที่ 2-13)

                                  การใชประโยชน  กวา 10 ปที่ผานมาผลผลิตขาวของประเทศไทยประมาณรอยละ 60-70
                       ใชเพื่อการบริโภคในประเทศทั้งในรูปการบริโภคโดยตรง ใชทําพันธุ  เลี้ยงสัตวและใชในโรงงาน

                       อุตสาหกรรม(นโยบายขาวป  2537-2544 : กระทรวงเกษตรและสหกรณ  2536) การบริโภคขาว

                       สวนใหญเปนการบริโภคขาวนาปเปนหลักโดยเฉพาะขาวหอมมะลิ สวนขาวนาปรังจะผลิต

                       เพื่อการสงออก  ป 2546 ปริมาณการใชขาวภายในประเทศประมาณรอยละ 56 ของผลผลิต

                       ขาวทั้งหมดหรือประมาณ 13.6-15.0 ลานตันขาวเปลือก โดยใชเพื่อการบริโภคโดยตรงประมาณ
                       10.0-10.5 ลานตันขาวเปลือก (ประมาณรอยละ 70 ของปริมาณการใชในประเทศ) ใชทําพันธุ

                       ประมาณ 1.1-1.2 ลานตันขาวเปลือก (ประมาณรอยละ 8 ) และใชในโรงงานอุตสาหกรรมอาหารสัตว

                       และแปรรูปผลิตภัณฑอื่นๆประมาณ 2.2-3.7 ลานตันขาวเปลือก หรือประมาณรอยละ 20 ของ
                       ปริมาณการใชขาวภายในประเทศ ป 2547 ปริมาณความตองการใชขาวเพิ่มขึ้นเปน 15.6 ลานตัน

                       ขาวเปลือก ตามจํานวนประชากรที่เพิ่มขึ้น แตเนื่องจากพฤติกรรมการบริโภคของประชากร

                       โดยเฉพาะประชากรที่อยูในเขตเมืองมีแนวโนมบริโภคอาหารสําเร็จรูปจากขาวสาลี (ขนมปง)
                       และเนื้อสัตวเพิ่มขึ้น จึงทําใหความตองการใชขาวในประเทศโดยรวมเพิ่มขึ้นไมมากนัก คือ จากป 2546

                       ปริมาณความตองการขาวเพิ่มขึ้นประมาณรอยละ 4 (ยุทธศาสตรขาว ป 2547-2551 : กระทรวงเกษตร

                       และสหกรณ 2547)

                                  การคาดคะเนความตองการขาวเพื่อการบริโภคและการสงออกชวงป 2547-2551
                       จากการคาดคะเนของสํานักงานเศรษฐกิจการเกษตรในชวงดังกลาว ผลผลิตขาวของประเทศไทยเพิ่มขึ้น

                       ในอัตราเฉลี่ยรอยละ 3.29 ตอป โดยความตองการใชขาวภายในประเทศเพิ่มขึ้นในอัตราเฉลี่ยรอยละ

                       0.97 ตอป และความตองการขาวเพื่อการสงออกเพิ่มขึ้นในอัตราเฉลี่ยรอยละ 4.63 ตอป ในอีก 3 ป

                       ขางหนา(ป 2551) ปริมาณผลผลิตขาวทั้งหมด 30.075 ลานตันขาวเปลือก หรือ 21.829 ลานตันขาวสาร
                       โดยคาดคะเนปริมาณความตองการใชภายในประเทศ 17.415 ลานตันขาวเปลือก หรือ 11.494

                       ลานตันขาวสาร และคาดคะเนปริมาณการสงออก 15.660 ลานตันขาวเปลือกหรือ 10.335 ลานตันขาวสาร

                       (ตารางที่ 2-14)







                       เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจขาวนาปรัง                     สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59