Page 11 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจข้าวนาปรัง
P. 11

บทที่ 1

                                                             บทนํา



                       1.1  หลักการและเหตุผล



                                ขาว เปนพืชเศรษฐกิจที่สําคัญของโลก ประชากรกวาครึ่งโลกบริโภคขาวเปนอาหารหลัก
                       ขาวจึงจัดเปนสินคาที่มีผลกระทบตอความมั่นคงของประเทศ โดยเฉพาะอยางยิ่งความมั่นคงดานอาหาร

                       ในหลายประเทศขาวเปนสินคาที่มีความออนไหวทางการเมือง และถือวาการปลูกขาวเปนวัฒนธรรม

                       ประจําชาติอยางหนึ่ง แมวาตนทุนการผลิตในประเทศสูงกวาการนําเขาก็ตาม แตรัฐก็ยังคงสนับสนุน

                       ใหเกษตรกรทําการผลิตตอไป การคาขาวของโลกจึงไมเปนไปตามกลไกของตลาดอยางแทจริงเพราะ
                       ถูกจํากัดดวยโควตาและภาษีที่สูง รวมทั้งขอกีดกันที่ไมใชภาษี หรือที่ไมเกี่ยวกับการคาอื่นๆ อีก

                       เชน ความปลอดภัยในเรื่องอาหารและความมั่นคงดานอาหาร เปนตน

                                ในกรณีของประเทศไทยพื้นที่การเกษตรประมาณเกือบครึ่งจะใชในการทํานา และ

                       กวารอยละ 60  ของครัวเรือนเกษตร หรือประมาณ 3.7  ลานครัวเรือน ปลูกขาวไวบริโภคและเพื่อ

                       การคาในแตละปประเทศไทยมีรายไดจากการสงออกขาวและผลิตภัณฑเกือบแสนลานบาท และ
                       สงออกเปนอันดับหนึ่งของโลกมาอยางตอเนื่องกวา 20  ป โดยในปจจุบันมีสัดสวนการตลาด

                       ประมาณเกือบรอยละ 30 ดังนั้น ขาวจึงนับวาเปนสินคาที่มีความสําคัญตอระบบเศรษฐกิจและสังคม

                       ของประเทศเปนอยางมาก

                                ในชวงหลายปที่ผานมาเนื่องจากสภาวะการเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศของโลก ประเทศไทย

                       ก็ไดรับผลกระทบจากสภาวะความแหงแลงและประสบปญหาการขาดแคลนน้ําอยางรุนแรงเชนกัน

                       ทั้งการบริโภคและอุปโภค ทั้งนี้ เนื่องจากปริมาณน้ําฝนนอยกวาเกณฑเฉลี่ย สงผลใหปริมาณน้ํา
                       ที่เก็บกักตามเขื่อนตางๆ สําหรับใชในฤดูแลงมีปริมาณนอยไมเพียงพอสําหรับทํานาปรังตลอดฤดู

                       ดังนั้น แนวทางหนึ่งที่สามารถชวยลดปญหาขาดแคลนน้ําไดก็คือ เกษตรกรหันมาปลูกพืชที่ใชน้ํานอย

                       ทดแทนขาวนาปรัง ซึ่งในปจจุบันทางรัฐบาลก็ไดมีนโยบายลดพื้นที่การทํานาปรัง เพื่อเปนการ

                       ลดปริมาณการใชน้ําชลประทาน ทั้งนี้เนื่องจากราคาขาวคอนขางแปรปรวนประกอบกับเสี่ยงตอ
                       การระบาดของโรคแมลงและขาดแคลนน้ํา ทําใหผลผลิตเสียหายคุณภาพขาวคอนขางต่ําราคาไมดี

                       ดังนั้นการกําหนดเขตการปลูกขาวนาปรังในพื้นที่ที่เหมาะสมจะเปนการควบคุมปริมาณและผลผลิตขาว

                       จะสอดคลองกับนโยบายรัฐบาล นับเปนการประหยัดน้ําและตัดวงจรในการระบาดของโรคและแมลง
                       ในการปลูกพืชชนิดเดี่ยวซ้ํากัน และเปนการใชประโยชนที่ดินอยางมีประสิทธิภาพ โดยการ

                       ปลูกพืชชนิดอื่นที่ใหผลตอบแทนสูงกวาการทําปรังเพียงอยางเดียว
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16