Page 117 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจเงาะ
P. 117

4-6







                4.1.2  ตนทุน/รายไดและผลตอบแทน

                        4.1.2.1 ตนทุน/รายไดและผลตอบแทนระดับประเทศ


                                เงาะ มีตนทุนทั้งหมดไรละ 5,194.85 บาท เปนตนทุนผันแปรไรละ 4,494.79 บาท และ
               ตนทุนคงที่ไรละ 700.05 บาท คิดเปนประมาณรอยละ 86 และ 14  ของตนทุนทั้งหมด ตามลําดับ

               ในจํานวนตนทุนทั้งหมดเปนตนทุนที่เปนเงินสดไรละ 3,412.16 บาท (รอยละ 66  ของตนทุนทั้งหมด)

               และไมเปนเงินสดไรละ 1,782.69 บาท (รอยละ 34 ของตนทุนทั้งหมด) ซึ่งตนทุนที่เปนเงินสด
               เกือบทั้งหมดเปนตนทุนผันแปร ในจํานวนตนทุนผันแปรทั้งหมดนั้นสวนใหญเปนคาแรงงาน

               ซึ่งมีมูลคามากกวาคาวัสดุการเกษตรประมาณ 740 บาทตอไร ซึ่งคาแรงงานรอยละ 90 เปนคาแรงงานคน

               คาปุยเคมีนั้น มีสัดสวนประมาณรอยละ 23 ของคาวัสดุการเกษตรทั้งหมด ปริมาณผลผลิต

               ที่เกษตรกรไดรับรวมทุกชวงอายุเทากับ 997.28 กิโลกรัมตอไร ณ ราคาขายผลผลิต 11.00 บาท
               ตอกิโลกรัม มูลคาของผลผลิตหรือรายไดเฉลี่ยตอไรตลอดชวงอายุ 25 ปจึงเทากับ 10,970.08 บาท

               ทําใหเกษตรกรไดรับผลตอบแทนเหนือตนทุนเงินสดไรละ 7,557.93 บาท ผลตอบแทนเหนือตนทุน

               ผันแปรไรละ 6,475.29 บาท และผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมดไรละ 5,775.24 บาท  ตนทุน
               ทั้งหมดเฉลี่ย 5.21 บาทตอกิโลกรัมซึ่งต่ํากวาราคาผลผลิตที่เกษตรกรไดรับประมาณ 1 เทา

               เกษตรกรจึงมีกําไรจากการผลิตเงาะ (ตารางที่ 4-3)

                                เมื่อพิจารณาตามชวงอายุเงาะในภาพรวมทั้งประเทศพบวา ตนทุนในปที่ 1 นั้น
               สัดสวนเกินกวาครึ่งหนึ่งของตนทุนทั้งหมดเปนคาแรงงาน ลําดับรองลงมาประมาณรอยละ 22

               เปนตนทุนคงที่ซึ่งไดแกคาเสื่อมอุปกรณเครื่องมือและคาเชา/ใชที่ดินคาวัสดุการเกษตรมีมูลคา

               ประมาณรอยละ 14 ของตนทุนทั้งหมด สําหรับชวงอายุ 2-3 ปนั้นคาใชจายในรายการตาง ๆ มีมูลคา
               พอ ๆ กันโดยคาแรงงานเปนคาใชจายที่มีมูลคามากที่สุดประมาณครึ่งหนึ่งของตนทุนทั้งหมด   ลําดับ

               รองลงมาคือตนทุนคงที่และคาวัสดุการเกษตร เงาะปที่ 1 และปที่ 2-3  เกษตรกรยังไมมีรายไดเนื่องจาก

               เงาะยังไมใหผลผลิตคงมีแตคาใชจายเพียงอยางเดียว เกษตรกรจึงประสบกับการขาดทุนเทากับตนทุน

               ที่เกิดขึ้น  ถาพิจารณาตนทุนทุกประเภท กลาวคือปที่ 1 ไดรับผลตอบแทนเหนือตนทุนผันแปรขาดทุน
               ไรละ 4,470.94 บาท และผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมดขาดทุนไรละ 5,719.57 บาท  สวนปที่ 2-3

               ไดรับผลตอบแทนเหนือตนทุนผันแปรขาดทุนไรละ 3,010.23 บาท และผลตอบแทนเหนือตนทุน

               ทั้งหมดขาดทุนไรละ 4,055.12 บาท สําหรับชวงอายุ 4-10 ป 11-20 ป และอายุ 21 ปขึ้นไป
               เกษตรกรไดรับผลกําไรเนื่องจากเงาะไดใหผลผลิตแลวจํานวน  879.83 1,206.25 และ 1,025.04

               กิโลกรัมตอไร ตามลําดับ ซึ่งถาพิจารณารายละเอียดของตนทุนตามตารางที่ (4-4)  พบวาคาวัสดุ

               การเกษตรมีสัดสวนนอยกวาคาแรงงานประมาณ 1-3 เทา ตนทุนทั้งหมดเฉลี่ยตอไรของการผลิตเงาะ

               ในชวงอายุอายุ 4-10 ป 11-20 ป   และอายุ 21 ปขึ้นไปคือ   5,056.12 5,852.94 และ 5,714.88 บาท



               เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจ เงาะ                                                                                             สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   112   113   114   115   116   117   118   119   120   121   122