Page 119 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจเงาะ
P. 119

4-8







               ณ ราคาผลผลิตเทากับ 11 บาทตอกิโลกรัม มูลคาหรือรายไดตอไร 9,678.13 13,268.75 และ
               11,275.44 บาทตอไร  เกษตรกรจึงไดรับผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมด 4,622.01 7,415.81 และ

               5,560.56  บาทตอไร ตามลําดับ  ทําใหมีตนทุนเฉลี่ยตอกิโลกรัม 5.75 4.85 และ 5.58 บาทตอกิโลกรัม

               ตามลําดับ ซึ่งมีต่ํากวาราคาผลผลิตที่ไดรับประมาณ 1 เทา เกษตรกรผูปลูกเงาะจึงยังมีกําไร
               ในจํานวนตนทุนทั้งหมดนั้นพบวาเปนตนทุนผันแปรประมาณรอยละ 90  84  และ 92  ตามลําดับ

               ชวงอายุ ดังนั้นเมื่อพิจารณาเฉพาะตนทุนผันแปรแลวทําใหเกษตรกรไดรับผลตอบแทนเหนือตนทุน

               ผันแปร 5,140.77 8,3330.77  และ 6,019.37 บาทตอไร ตามลําดับชวงอายุ (ตารางที่ 4-4)

                        4.1.2.2  ตนทุน/รายไดและผลตอบแทนจําแนกตามระดับความเหมาะสมของที่ดิน


                                พื้นที่ที่ดินมีความเหมาะสมสูง (S1)  เงาะ มีตนทุนทั้งหมดไรละ 5,565.20 บาท

               เปนตนทุนผันแปรไรละ 4,798.05 บาท และตนทุนคงที่ไรละ 767.15 บาท คิดเปนประมาณรอยละ
               86 และ14 ของตนทุนทั้งหมดตามลําดับ  ในจํานวนตนทุนทั้งหมดนั้นมูลคาเกินกวาครึ่งหนึ่งนั้น

               เปนตนทุนที่เปนเงินสดไรละ 2,906.38 บาท  ที่เหลือประมาณรอยละ 48  เปนตนทุนไมเปนเงินสดไรละ

               2,658.82 บาท ซึ่งตนทุนที่เปนเงินสดรอยละ 99  เปนตนทุนผันแปร ตนทุนผันแปรนั้นประมาณ
               รอยละ 69 เปนคาแรงงานซึ่งมีมูลคาสูงกวาคาวัสดุการเกษตรประมาณ 2,100 บาทตอไร

               ในจํานวนคาแรงงานนั้นพบวาประมาณรอยละ 82 เปนคาแรงงานคน คาปุยเคมีนั้นมีสัดสวน

               ประมาณรอยละ 38 ของคาวัสดุการเกษตรทั้งหมด  ปริมาณผลผลิตที่เกษตรกรไดรับเฉลี่ยทุกชวง
               อายุ 1,259.71 กิโลกรัมตอไร ณ ราคาขายผลผลิต 11.00 บาทตอกิโลกรัม มูลคาของผลผลิตหรือ

               รายไดเฉลี่ยตอไรตลอดชวงอายุ 25 ปจึงเทากับ 13,856.81 บาท ทําใหเกษตรกรไดรับผลตอบแทน

               เหนือตนทุนเงินสดไรละ 10,950.43 บาท ผลตอบแทนเหนือตนทุนผันแปรไรละ 9,058.76 บาท
               และผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมดไรละ 8,291.61 บาท  ตนทุนเฉลี่ยตอกิโลกรัมของผลผลิต

               เทากับ 4.42 บาทซึ่งมีมูลคาต่ํากวาราคาผลผลิตที่เกษตรกรไดรับประมาณสองเทา ทําใหเกษตรกร

               ไดรับกําไรจากการผลิต (ตารางที่ 4-5 และตารางที่ 4-6)  เมื่อพิจารณาตามชวงอายุเงาะในพื้นที่ที่ดิน

               มีความเหมาะสมสูงสําหรับการปลูกเงาะ พบวา ตนทุนในปที่ 1 นั้นประมาณรอยละ 69 ของตนทุน
               ทั้งหมดเปนคาแรงงาน ลําดับรองลงมาเปนตนทุนคงที่ และคาวัสดุการเกษตรการเกษตรมีมูลคา

               ประมาณรอยละ 15 และ 12 ของตนทุนทั้งหมด ตามลําดับ สําหรับชวงอายุ 2-3 ปนั้นคาวัสดุ

               การเกษตรมีมูลคานอยกวาคาแรงงานประมาณ 3 เทา  ลําดับรองลงมาจากคาแรงงาน เปนตนทุนคงที่
               ในปที่ 1 และปที่ 2-3 เกษตรกรยังไมมีรายไดเนื่องจากเงาะ ยังไมใหผลผลิตคงมีแตคาใชจายเพียงอยางเดียว

               เกษตรกรจึงประสบกับการขาดทุนเทากับตนทุนที่เกิดขึ้นซึ่งถาพิจารณาตนทุนทุกประเภท ปรากฏวา

               ปที่ 1 ไดรับผลตอบแทนเหนือตนทุนผันแปรและผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมดขาดทุนไรละ

               5,704.84  และ 6,744.37 บาท  ตามลําดับ   สวนปที่ 2-3  ไดรับผลตอบแทนเหนือตนทุนผันแปรและ



               เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจ เงาะ                                                                                             สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   114   115   116   117   118   119   120   121   122   123   124