Page 114 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจเงาะ
P. 114

4-3







                       เพียงครั้งเดียว สวนใหญยกรองกอนขุดหลุมปลูก การดูแลรักษาพบวามีการฉีดยากําจัดวัชพืชและ
                       ฉีดยาปราบศัตรูพืชและใหฮอรโมน การกําจัดวัชพืชใชแรงงานเครื่องจักรควบคูกับการใชแรงงานคน

                       (ดายหญา)  แรงงานที่ใชในการผลิตสวนใหญเปนแรงงานคน วัสดุการเกษตรนั้นประมาณรอยละ 23

                       ของคาวัสดุจะเปนคาปุยเคมีซึ่งเกษตรกรใส 60.31 กิโลกรัมตอไร สวนใหญเปนสูตร 15-15-15
                       รองลงมาเปนสูตร 8-24-24  สําหรับปุยคอกเกษตรกรใชอัตรา 44.17 กิโลกรัมตอไร คิดเปนมูลคา

                       เพียงประมาณรอยละ 6 ของคาวัสดุทั้งหมด  ลําดับรองลงมาของคาวัสดุการเกษตรนั้นเปนคายาปราบ/

                       กําจัดศัตรูพืช คาน้ํามันเชื้อเพลิง/หลอลื่นและคายาปราบวัชพืชโดยมีมูลคาประมาณรอยละ 22 17
                       และ 15 ของคาวัสดุทั้งหมด ตามลําดับ การที่มีสัดสวนของคาสารเคมีสูงยอมเปนเครื่องแสดงวา

                       เกษตรกรที่สํารวจประสบกับปญหาศัตรูพืช และอาจขาดแคลนแรงงานเพราะมีการใชยาปราบวัชพืช

                       ที่คิดเปนมูลคาสูงไดเชนกัน ผลการสํารวจยังพบวาเกษตรกรมีเงินทุนในผลิตเงาะไมเพียงพอ จึงไดกูเงิน
                       มาใชเฉลี่ย 32,887.41 บาทตอราย (ตารางที่ 4-1)

                                เมื่อจําแนกพื้นที่ตามระดับความเหมาะสมของที่ดินสําหรับการปลูกเงาะพบวาในเขต

                       พื้นที่ที่ดินมีความเหมาะสมสูง (S1)  เกษตรกรมีเนื้อปลูกเฉลี่ย 4.90 ไรตอราย เนื้อที่เก็บผลผลิต

                       4.27 ไรตอราย แรงงานที่ใชสวนใหญเปนแรงงานคน วัสดุการเกษตรที่ใชอยูในอัตราสูงกวาอีก 2

                       เขตพื้นที่ กลาวคือใสปุยเคมี 134.15 กิโลกรัมตอไร ปุยคอก 70.77 กิโลกรัมตอไร ขณะที่ในเขต
                       พื้นที่ที่ดินมีความเหมาะสมปานกลาง (S2) และเหมาะสมเล็กนอย  (S3)   ซึ่งเกษตรกร มีพื้นที่ปลูก

                       เฉลี่ยมากกวาในเขตพื้นที่ที่ดินมีความเหมาะสมสูง คือมีเนื้อที่ปลูกเงาะเฉลี่ย 6.87 และ 11.84 ไรตอ

                       ราย ทั้ง 2 เขตพื้นที่ใสปุยเคมี 95.62 และ 63.85 กิโลกรัมตอไร ปุยคอก 20.29 และ 52.03 กิโลกรัม
                       ตอไร ตามลําดับ  แรงงานที่ใชสวนใหญเปนแรงงานคนเชนกัน ( ตารางที่ 4-1 )

                                พื้นที่ภาคตาง ๆ ที่สํารวจ พบวาภาคตะวันออกเกษตรกรมีพื้นที่ปลูกเงาะ 11.39 ไรตอราย

                       ซึ่งมากกวาภาคใตและภาคตะวันออกเฉียงเหนือเกินกวา 1 เทา คือมีเนื้อที่ปลูก 5.31 และ 4.50 ไรตอราย
                       ตามลําดับ พื้นที่เก็บเกี่ยวเงาะภาคตะวันออกและภาคตะวันออกเฉียงเหนือเทากับพื้นที่ปลูกแสดงวา

                       เกษตรกรสามารถเก็บผลผลิตไดเต็มพื้นที่แลว ภาคตะวันออกมีจํานวนตนเงาะเฉลี่ยตอไรนอยที่สุดคือ

                       14 ตน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมากที่สุด 24  ตน ขณะที่ภาคใต มีจํานวน 20 ตน และมีพื้นที่ที่เงาะ

                       ยังไมใหผล 0.71 ไรตอราย เกษตรกรภาคตะวันออกใชปุยเคมีปริมาณนอยที่สุด 62.50 กิโลกรัมตอไร
                       ภาคตะวันออกเฉียงเหนือใชปุยเคมีปริมาณมากที่สุด 113.61 กิโลกรัมตอไร ภาคใตนั้นใชปุยเคมี

                       92.75 กิโลกรัมตอไรเกษตรกรภาคตะวันออกใชปุยคอก 54.22 กิโลกรัมตอไร สวนภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

                       และภาคใตใช 33.33 และ 29.57 กิโลกรัมตอไร ตามลําดับ  เกษตรกรภาคตะวันออกมีจํานวนน้ํามัน

                       เชื้อเพลิงและหลอลื่นมากกวาภาคอื่น ๆ อาจเนื่องมาจากตองสูบน้ําใหตนเงาะบอยครั้งกวา และนิยม
                       ใชแรงงานเครื่องจักรกําจัดวัชพืชมากกวาใชแรงงานคนดายหญา (ตารางที่ 4-2)





                       เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจ เงาะ                                                                                             สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   109   110   111   112   113   114   115   116   117   118   119