Page 112 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจเงาะ
P. 112

บทที่ 4

                                               การวิเคราะหดานเศรษฐกิจและสังคม



                              การวิเคราะหดานเศรษฐกิจและสังคมของการผลิตเงาะไดศึกษาเปน 2 สวน คือ สวนที่ 1

                       ตนทุนการผลิต มูลคาผลผลิต (รายได) และผลตอบแทนจากการผลิต สวนที่ 2 ปญหา ความตองการ
                       ความชวยเหลือจากรัฐและทัศนคติของเกษตรกรผูผลิตเงาะ ขอมูลที่ใชศึกษาไดจากการสํารวจ

                       เกษตรกรผูปลูกเงาะตามอําเภอและจังหวัดที่เปนแหลงผลิตที่สําคัญของภาคตะวันออกและ

                       ภาคใต ทั้งนี้จําแนกการศึกษาตามความเหมาะสมทางกายภาพของที่ดินที่สํารวจตัวอยางเกษตรกร

                       ผูผลิตเงาะไว 3 ระดับ คือ พื้นที่ที่ดินมีความเหมาะสมสูง (S1) พื้นที่ที่ดินมีความเหมาะสมปานกลาง
                       (S2) และพื้นที่ที่ดินมีความเหมาะสมเล็กนอย (S3) และจําแนกตามแหลงการผลิตที่สําคัญคือ

                       ภาคตะวันออกและภาคใต  สวนภาคตะวันออกเฉียงเหนือเนื่องจากมีจํานวนตัวอยางไมมากนัก และ

                       เปนชวงอายุที่เพิ่งเริ่มใหผลผลิตไมเกิน 10 ป จึงไดนําเสนอในภาพรวมของทั้งภาค  สําหรับสภาพ
                       ปญหา ความตองการและทัศนคติของเกษตรกรจะผลการศึกษาจะจําแนกตามระดับความเหมาะสม

                       ของที่ดินและจําแนกตามภาค  หลักเกณฑและวิธีการวิเคราะหดังที่กลาวไวในบทที่ 1  ซึ่งผลการศึกษา

                       มีรายละเอียดดังหัวขอตอไปนี้


                       4.1 ตนทุนและผลตอบแทน


                              ตนทุน รายได การจัดการดูแลรักษาซึ่งรวมถึงการใชปจจัยการผลิตตาง ๆ ตลอดจน
                       ผลตอบแทนการผลิตเปนเครื่องชี้ประสิทธิภาพในการผลิตใหเห็นถึงความเหมาะสมของการปลูกเงาะ

                       ในพื้นที่ที่ดินมีความเหมาะสมทางกายภาพตางกันและพื้นที่ภาคตาง ๆ ของประเทศ เนื่องจาก

                       ทดสอบคาทางสถิติพบวาผลผลิตมีความแตกตางกัน ณ ระดับนัยสําคัญ 0.10 ในแตละภาคและ
                       แตละระดับความเหมาะสมทางกายภาพของที่ดินสําหรับการปลูกเงาะ ในที่นี้ จึงไดจําแนกการวิเคราะห

                       ออกเปน 2 ลักษณะ ราคาผลผลิตที่นํามาคํานวณมูลคาผลผลิตหรือรายไดนั้นใชราคาเฉลี่ย

                       จากตัวอยางราคาเดียวกันในการคํานวณมูลคาผลผลิตในทุกระดับความเหมาะสมทางกายภาพ
                       ของที่ดินคือ 11.00 บาทตอกิโลกรัม สวนการวิเคราะหรายภาคนั้นใชราคาเฉลี่ยของผลผลิตแตละภาค

                       คือ 12.50 บาทตอกิโลกรัมสําหรับ ภาคใตและ 9.30  บาทตอกิโลกรัมสําหรับภาคตะวันออก

                       ทั้งนี้เพื่อกําจัดปญหาดานราคาที่แตกตางกันตามสถานที่ผลิตในแตละภาคและระยะเวลาขาย
                       ผลผลิต

                              การวิเคราะหเพื่อทราบผลตอบแทนจากการผลิตเงาะ เริ่มตนจากการวิเคราะหตนทุนหรือ

                       คาใชจายในการผลิตซึ่งจําแนกเปน 2 ประเภท คือตนทุนผันแปรและตนทุนคงที่ และในแตละประเภท
   107   108   109   110   111   112   113   114   115   116   117