Page 201 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจลิ้นจี่
P. 201

ผ 2-16








                            8.2 หนอนเจาะลําตน
                                   ตัวแกเปนผีเสื้อกลางคืน หลังการผสมพันธุก็จะมาวางไขที่เปลือกของกิ่งออน กิ่งและ

                       ลําตน ไขจะฟกออกเปนตัวภายใน 10 วัน เมื่อออกเปนตัวหนอนก็จะเริ่มเจาะเขากัดกินในกิ่งหรือลําตน

                       จะสังเกตเห็นมีขุยไมที่หนอนถายออกมาที่ปากรูเปนเม็ดๆ ลักษณะภายในที่ถูกกัดกินจะเปนโพรง
                       ทางยาวของลําตนและกิ่ง กิ่งที่ถูกทําลายจะเริ่มเหี่ยวแหงตายไปในที่สุด

                                   การปองกันกําจัด

                                   1) จับทําลายผีเสื้อในตอนกลางคืน โดยการใชไฟลอ

                                   2) ใชยาดูดซึม เชน เอนดริน มาลาไธออน เซพวิน ผสมน้ําหยอดตรงรอยเจาะแลว
                       อุดรูดวยดินเหนียว

                            8.3 มวนลําไย

                                   มวนลําไยหรือแมลงแกงเปนมวนขนาดใหญ รูปรางคลายโลสีน้ําตาลเหลือง ในระยะ

                       ตัวออนจะมีสีฉูดฉาด เทาและแดงสดใสเมื่อตกใจจะปลอยน้ําพิษออกมา ขนาดของตัวเมียจะใหญกวา
                       ตัวผู มักจะอยูรวมกันเปนกลุม ตัวเมียจะวางไขเปนกลุมบนใบลิ้นจี่ กลุมหนึ่งประมาณ 12 ฟอง

                       ไขมีสีขาวนวล ขนาดเล็กกวาหัวเข็มหมุดเล็กนอย จะฟกเปนตัวออนภายใน 7-14 วัน ลอกคราบ

                       ประมาณ 5-6 ครั้ง จนเปนตัวแกใชเวลา 2-3 เดือน มักระบาดมากในบริเวณสวนลิ้นจี่ที่ทึบ
                       และมีแหลงน้ําที่อุดมสมบูรณ โดยจะอาศัยดูดกินน้ําเลี้ยงจากชอดอกและผลออน ทําใหไดรับ

                       ความเสียหาย

                                   การปองกันกําจัด
                                   1) ตัดแตงกิ่งลิ้นจี่ที่แนนทึบใหโปรง ซึ่งอาจเปนที่อาศัยหรือหลบซอนของตัวแก

                                   2) จับทําลายตัวออนและไขในระยะที่มวนเคลื่อนไหวไดชา

                                   3) พนสารเคมีปองกันกอนที่ลิ้นจี่จะออกดอก  ประมาณเดือนพฤศจิกายนธันวาคม
                       และทุกครั้งที่แตกใบออน เชน ยาเซพวิน 85% ตามอัตราสวนที่กําหนด

                            8.4 หนอนมวนใบและชอดอก

                                   ตัวแกจะเปนผีเสื้อขนาดเล็ก สีเหลืองน้ําตาล มีลวดลายสีน้ําตาลเขม มักจะหุบปกเมื่อเกาะ

                       มองดูคลายรูปสี่เหลี่ยมผืนผาหนวดสั้นเรียวเล็ก เมื่อกางปกออกจะกวางประมาณ 2-2.5 เซนติเมตร
                       ตัวเมียจะโตกวาตัวผู หลังวางไขจะฝกออกเปนตัวหนอนขนาดยาว 2 เซนติเมตร สีเขียวสด เมื่อโตขึ้น

                       จะเขาดักแดหอใบมวนอยู ขนาดดักแด 1 เซนติเมตร ตัวแกจะมีชีวิต 1-2 สัปดาห

                                   การทําลาย จะพบมากในขณะที่ลิ้นจี่แตกใบออนและชอดอก  ในชวงฤดูฝน

                       กอนเขาฤดูหนาว  มักพบมีหนอนชักใยหอใบเขาหากัน ใบออนและชอดอกที่ถูกทําลายจะติดกัน
                       และจะอาศัยกัดกินใบและดอก  สวนที่ถูกทําลายดังกลาวจะไมเจริญและชะงักการเจริญเติบโต



                       เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจลิ้นจี่                                                                                             สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   196   197   198   199   200   201   202   203   204