Page 197 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจลิ้นจี่
P. 197

ผ 2-12








                       จึงแตกตางกันไป  บางตนอาจควั่นกิ่งไดในชวงตนเดือนตุลาคม บางตนควั่นกิ่งไดในชวงปลายเดือน
                       ตุลาคมหรือตนเดือนพฤศจิกายน

                                   4)  วิธีการควั่นกิ่ง  ใชเลื่อยโคงที่เตรียมไวแลวเลื่อยกิ่งที่ตรงตําแหนงของกิ่งที่กลม

                       ที่สุดในสวนของกิ่งนั้น โดยเลื่อยเบาๆ พอใหคมเลื่อยเขาทะลุเปลือกไปถึงเยื่อเจริญเทานั้น ใหปลายคม
                       เลื่อยถูกเนื้อไมนิดหนึ่ง เพื่อตัดเยื่อเจริญ แตอยาใหคมเลื่อยถูกเนื้อไมมาก เพราะจะเปนอันตราย

                       กับกิ่งลิ้นจี่กิ่งนั้น เมื่อทําการเลื่อยเปลือกโดยรอบกิ่งแลวขั้นตอไปใหใชลวดทองแดงขนาด

                       เสนผาศูนยกลาง 1.5 มิลลิเมตร ยาวประมาณ 50 เซนติเมตร รัดใหเขารองฟนเลื่อยรอบกิ่ง แลวใชคีม
                       ดึงขันลวดใหแนนสนิทกับรอยเลื่อย เปนอันเสร็จวิธีการควั่นกิ่งลิ้นจี่

                                   5)  กําหนดเวลาแกลวดออก   หลังจากทําการควั่นกิ่งไดประมาณ 30-40 วัน ใหสังเกตดู

                       ตรงรอยควั่นซึ่งแยกออกเปน 2 สวนตามรอยฟนเลื่อยและมีลวดกั้นอยู จะเห็นวาสวนบนของรอยควั่น

                       จะโตกวาสวนลางเล็กนอย ซึ่งแสดงวาลิ้นจี่กิ่งนั้นสะสมอาหารไวเพียงพอที่จะออกดอกได จึงใชคีม
                       แกลวดมัดออก

                                   การควั่นกิ่งลิ้นจี่ในเดือนตุลาคม จะเปนการเพิ่มและสะสมอาหารไวในสวนของกิ่ง

                       อยางเพียงพอ การปฏิบัติดูแลรักษาลิ้นจี่ในระยะนี้จะตองงดการบํารุง งดใหน้ําและปุยลง

                       และทําความสะอาดสวน พอถึงเดือนธันวาคม ลิ้นจี่ก็จะแตกตาดอก จึงเริ่มบํารุงตนตามปกติ
                            4.7 การค้ํายันกิ่ง

                                   การค้ํายันกิ่งลิ้นจี่เปนสิ่งที่มีความจําเปน เนื่องจากในชวงเดือนเมษายนของทุกป

                       มักจะมีลมพายุพัดเขามาเปนประจํา ควรจะไดทําการปองกันลมพายุนี้ไวตั้งแตตนเดือนเมษายนโดย
                       การค้ํายันกิ่ง ซึ่งจะสามารถปองกันความเสียหายของตนและกิ่งไดมาก การค้ํายันกิ่งที่นิยมใน

                       ปจจุบันมี 2 วิธีคือ

                                   1)  การค้ํายันแบบตีคอก เปนการปกเสารอบตน 4 มุม แลวใชไมยาวประมาณ 3 เมตร
                       จํานวน 4 อัน ตีดวยตะปูทั้ง 4 ดาน จะมีลักษณะเปนคอกลอมรอบตนลิ้นจี่ การค้ํายันแบบนี้จะมี

                       ความแข็งแรงมาก ทนไดหลายปไมคอยผุ แตมีขอเสียคือในปจจุบันการหาไมมาทําเสาหายากขึ้น

                       และการลงทุนคอนขางแพง การค้ํายันวิธีนี้เหมาะสําหรับตนลิ้นจี่อายุประมาณ 4-8 ป

                                   2)  การใชไมซางค้ํายันกิ่ง  โดยใชไมซางหรือไมไผขนาดใหญ ค้ํายันกิ่งใหญ
                       ของตนลิ้นจี่ทั้ง 4 ดาน ถาเปนตนขนาดใหญอาจใชไม 8-10 อัน/ตน เปนวิธีที่ลงทุนถูก แตไมคอย

                       ทนทานตองเปลี่ยนไมค้ํายันทุก 2 ป ซึ่งการค้ํายันวิธีนี้เหมาะสําหรับตนลิ้นจี่อายุตั้งแต 9-20 ป









                       เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจลิ้นจี่                                                                                             สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   192   193   194   195   196   197   198   199   200   201   202