Page 198 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจลิ้นจี่
P. 198

ผ 2-13








                       5.   การหอผลลิ้นจี่
                                การหอผลลิ้นจี่ เปนอีกวิธีการหนึ่งที่จะชวยใหลิ้นจี่มีคุณภาพดี นอกเหนือจากการใหน้ํา

                       ใหปุย ผลที่ไดรับจากการหอผล คือ ผลจะใหญ ผิวสวย สีแดงสวย นารับประทาน รสชาดดี

                       ปลอดภัยจากการทําลายของแมลง และชวยลดเปอรเซ็นตการแตกของผล การหอผลจะเริ่มเมื่อมีสีผิว
                       ของผลเริ่มเปลี่ยนจากเขียวเปนแดงเรื่อยๆ ซึ่งแสดงวาเริ่มจะแก การหอผล วัสดุที่ใชหอผล

                       จะแตกตางกันออกไป บางสวนจะใชกระดาษหนังสือพิมพปลายเปด บางสวนใชถุงกระดาษ

                       สีน้ําตาลคลุมทั้งถุง แตมีการเจาะรูระบายอากาศ บางสวนใชถุงพลาสติกปลายเปด สําหรับการหอ
                       ควรหอทั้งชอผูกปากถุงกับโคนกานชอใหแนน



                       6.   การเก็บเกี่ยวผลลิ้นจี่

                                นับตั้งแตหอผลจนกระทั่งถึงการเก็บเกี่ยวผลใชเวลาประมาณ 20-25 วัน ผลลิ้นจี่จะเปน
                       สีแดงเขม แดงปนชมพู เมื่อแกะเปลือกลิ้นจี่ดูเปลือกภายใน ถายังขาวอยูแสดงวายังออน แตถาปรากฏ

                       เปนสีขมพู หรือสีแดงเรื่อๆ ที่ผิวเปลือกดานใน ก็จะสามารถเก็บผลได ซึ่งการเก็บผลตองระมัดระวัง

                       เพราะลิ้นจี่จะแกไมพรอมกัน จึงควรเลือกเก็บเฉพาะชอผลที่แกจริงๆ โดยการใชกรรไกรตัดทั้งชอ
                       พรอมทั้งถุงที่หอ ผลลิ้นจี่ที่มีกานติดอยูจะสดนานกวาลิ้นจี่ที่ไมมีกานติด นอกจากนี้ ภาชนะที่ใชใส

                       ผลลิ้นจี่ควรโปรง และมีที่ระบายอากาศไดดี การวางผลลิ้นจี่ไมควรทับกันมาก เพราะผลอาจจะช้ํา

                       เนาได เวลาที่ควรเก็บผลคือชวงเวลาประมาณ 9.00-10.00 น. ทั้งนี้เพื่อใหน้ําคางที่ติดผลอยูแหง
                       หมดเสียกอน เพราะถาเก็บผลในขณะที่มีน้ําคางติดอยูจะทําใหลิ้นจี่เนาเสียงาย



                       7.   โรคที่สําคัญของลิ้นจี่

                            7.1  โรคราดํา
                                   สาเหตุเกิดจากแมลงพวกปากดูด เชน เพลี้ยตางๆ มักพบดูดทําลายสวนออนของใบ

                       กิ่ง และชอดอก แลวจะถายเปนน้ําลักษณะเหนียวออกมา มีรสหวาน เปนอาหารอยางดีของเชื้อรา

                       นานเขาจึงเกิดมีลักษณะเปนเขมาดําขึ้นปกคลุม ในฤดูแลงที่มีความชื้นนอย เขมานี้อาจหลุดไปได
                       เอง หากเกิดทําลายขึ้นที่ชอดอก มีเขมาสีดําติดชอดอก ทําใหไมติดผล

                                   การปองกันกําจัด โดยกําจัดแมลงปากดูดดังกลาวใหหมดไป การปองกันดวยสารเคมี

                       เชน ยาทามารอน ไดเมทไธเอท ในชวงที่ลิ้นจี่แตกใบออน
                            7.2  โรคผลแตกและเนา

                                   เกิดจากแมลงพวกมวนเขียว มวนลําไย และผีเสื้อกลางคืน เจาะดูดผลที่ใกลจะแก

                       เกิดเปนแผลขึ้น และแมลงดังกลาวจะถายออกมาเปนน้ํา ซึ่งมีลักษณะเปนกรด ซึ่งเมื่อถูกผลลิ้นจี่

                       จะทําใหผลช้ําเปนสีน้ําตาลหรือขาวซีด หลังจากนั้นเกิดเชื้อราตรงสวนที่ช้ํา ทําใหผลเกิดรอยแผลเนา


                       เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจลิ้นจี่                                                                                             สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   193   194   195   196   197   198   199   200   201   202   203