Page 199 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจลิ้นจี่
P. 199

ผ 2-14








                       และรวงหลนกอนที่ผลจะแก นอกจากนี้ ยังมีสาเหตุมาจากการหอผลดวยถุงพลาสติกที่มีการถายเท
                       อากาศไมดี ทําใหเกิดความรอนอับ เปนเหตุใหผลเนาเสียหาย

                                   การปองกันกําจัด จะตองคอยกําจัดพวกแมลงที่คอยมาดูดน้ําในผลที่ใกลจะแก

                       และการหอชอผลของลิ้นจี่จะตองมีอากาศถายเทไดสะดวก ซึ่งในแตละถุงจะใหมีปริมาณของลิ้นจี่
                       ไมเกิน 50 เปอรเซ็นตของปริมาณถุงทั้งหมด

                            7.3 โรคใบดาน

                                   เกิดจากการทําลายของไรแดงดูดกินน้ําเลี้ยงบนแผนใบ ทําใหเกิดใบดานไมเปนมัน

                       คลายฝุนละอองติด ทําใหใบปรุงอาหารไดไมเต็มที่ หากเปนมากอาจทําใหใบรวงได มักพบระบาดมาก
                       ในชวงที่มีไรแดงระบาด เชน ในฤดูแลงปองกันโดยการฉีดยาปองกันไรแดง โดยใชสารจําพวก

                       กํามะถันผงติดตอกัน 3 ครั้ง ภายใน 3 สัปดาห ในชวงฤดูแลงและชวงลิ้นจี่แตกใบออน

                            7.4 โรคใบจุด

                                   สาเหตุเกิดจากเชื้อรา Pestalotia pauciseta, Colletotrichum gloeosp orioides
                       เชื้อโรคแพรระบาดไดดีในฤดูฝน โดยมีน้ําและลมเปนพาหะนําโรค  เชื้อราจะเขาทําลายที่ใบ

                       เปนสวนใหญและมีลักษณะเปนจุด  นอกจากนี้เชื้อรายังเขาทําลายผลและกานผลตั้งแตระยะผล

                       เจริญเติบโตในระยะแรกหรือยังออนอยูจนถึงระยะผลเจริญเติบโตเต็มที่ หากเกิดในระยะผลออน
                       ผลจะรวงหลนไป แตถาเกิดในระยะผลโตแลวก็จะเกิดอาการผลเนา

                                   การปองกันกําจัด  ฉีดพนดวยสารปองกันกําจัดเชื้อรา เชน คอปเปอรออกซีคลอไรด

                       สวนในระยะติดผลและเมื่อผลมีขนาดใหญแลวควรพนดวยสารเคมี เชน เบนโนมิล 10 กรัมตอน้ํา
                       20 ลิตร โดยเฉพาะหลังจากเก็บเกี่ยวผลทันทีหรือกอนที่จะเก็บเกี่ยวผลเพียง 2-3 วันจะไดผลดี

                            7.5 โรคพุมไมกวาด

                                   เกิดจากเชื้อมายโคพลาสมา (Mycoplasma) โดยมีแมลงพวกเพลี้ยจักจั่นสีน้ําตาล

                       เปนพาหะ  อาการของโรคนี้ทําใหใบของลิ้นจี่ที่เจริญออกมาใหมมีขนาดเล็กเปนเสนยาว
                       และออกมาเปนกลุมหรือเปนกระจุก มีลักษณะเหมือนรูปไมกวาด กลุมของใบหรือยอดที่เจริญออกมานั้น

                       จะไมสามารถเจริญใหมีใบใหญขนาดปกติได บางครั้งชอดอกที่เจริญออกมาก็จะมีดอกเกิดเปนกลุม

                       ไมขยายหรือคลี่ออก ดอกจะบานบางแตก็เปนสวนนอยในที่สุดดอกจะรวงไปเหลือแตกานดอกและ
                       แหงตายไป ตนที่เปนโรคจะมีการผลิดอกออกผลนอย ชอหนึ่งอาจมีผลเพียง 3-4 ผลเทานั้น ผลผลิต

                       เสียหายมาก

                                   การปองกันกําจัด  ไมควรใชกิ่งพันธุจากตนที่เปนโรคนี้ไปปลูก ไมนําเมล็ดจากตนที่

                       เปนโรคไปเพาะเพื่อเปนตนตอใชทาบกิ่ง นอกจากนี้ถาพบแมลงพวกเพลี้ยจักจั่นสีน้ําตาลควรพนดวย
                       สารเคมีใหทั่ว เชน มาลาไธออน 20 ซีซี.ตอน้ํา 20 ลิตร สวนตนที่เปนโรคนี้ควรทําลายเสีย



                       เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจลิ้นจี่                                                                                             สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   194   195   196   197   198   199   200   201   202   203   204