Page 203 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจลิ้นจี่
P. 203

ผ 2-18








                                   การปองกันกําจัด  พนยาโมโนโครโตฟอส หรือทามารอน  โดยพนตั้งแตลิ้นจี่เริ่มติด
                       ชอ แลวหยุดเมื่อระยะดอกบาน แลวพนอีกครั้งตอนลิ้นจี่ติดผล เห็นชัดเจนแลว และหมั่นตรวจดูตาม

                       ชอดอกหรือกิ่งเมื่อพบหนอนหรือใยของหนอนที่สรางไวใหเก็บทําลายเสีย

                            8.8  ไรลิ้นจี่ หรือไรกํามะหยี่
                                   มีขนาดเล็กมากไมสามารถมองเห็นไดดวยตาเปลา โดยจะดูดน้ําเลี้ยง ทําลายตาดอก

                       ใบออน ยอดและผล ใบที่ถูกทําลาย จะมีอาการหงิกงอ และโปงพองขึ้นเปนกระเปาะ ผิวใบบริเวณ

                       ที่ถูกทําลาย จะสรางขึ้นสานกันแนนเปนขนกํามะหยี่ เมื่อเริ่มทําลายเสนขนจะมีสีเขียว ตอมาจะมี

                       สีน้ําตาลเขมขึ้นเรื่อยๆ
                                   การปองกันกําจัด กรณีที่ไรระบาดไมมากนัก ควรใชวิธีตัดแตงกิ่งใบ และยอดลิ้นจี่

                       ที่ถูกทําลายทิ้งเสีย แลวเผาไฟใหหมด เพื่อปองกันการแพรระบาด สวนลิ้นจี่ที่มีการระบาดรุนแรง

                       ควรใชสารเอนดริน หรือ มาลาไธออน หรือ เชฟวิน ผสมน้ําหยอดตามรอยเจาะ แลวเอาดินเหนียว

                       อุดทับทันทีและหมั่นตรวจสอบ ถาพบใบลิ้นจี่เปลี่ยนแปลง ใหเด็ดและเผาทําลาย และตองระวัง
                       อยาเอากิ่งพันธุจากแหลงที่มีไรระบาดอยูเขามาปลูก

                            8.9 คางคาวและนก

                                   จะระบาดมากในชวงผลลิ้นจี่เริ่มสุก โดยเฉพาะคางคาวจะมาเปนฝูงใหญๆ ซึ่งทํา
                       ความเสียหายใหแกสวนลิ้นจี่ไมใชนอย

                                   การปองกันกําจัด  การหอผลลิ้นจี่ จะชวยปองกันการทําลายของคางคาวและนกได

                       บางสวน หรืออาจนําตาขายมาลอมรอบสวนก็จะชวยกันได

























                       เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจลิ้นจี่                                                                                             สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   198   199   200   201   202   203   204