Page 192 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจลิ้นจี่
P. 192

ผ 2-7








                                     3)  ระยะแทงชอดอก  เปนระยะที่ลิ้นจี่เริ่มตองการน้ํา ดังนั้นเมื่อลิ้นจี่แทงชอดอก
                       ไดประมาณ 50 เปอรเซ็นตของทรงพุมจึงเริ่มใหน้ําในปริมาณนอยๆ กอน โดยใหบริเวณรอบนอก

                       ของทรงพุมกอนเพื่อใหลิ้นจี่คอยๆ ปรับตัว ตอจากนั้นจึงคอยๆ เพิ่มปริมาณน้ําและใหน้ําในทรงพุม

                       มากขึ้น โดยใหสัปดาหละ 2 ครั้ง
                                     4)  ระยะดอกบาน  เปนระยะที่จําเปนจะตองมีการใหน้ําเพื่อใหดินมีความชื้น

                       ที่เพียงพอตลอดเวลาประกอกกับในชวงนี้เปนชวงฤดูแลงจึงตองใหน้ําอยางสม่ําเสมอ เพื่อใหลิ้นจี่

                       ติดดอกติดผลไดเต็มที่

                                     5)  ระยะติดผล  เปนระยะที่ผลกําลังเจริญเติบโตและลิ้นจี่จะตองการน้ําในปริมาณ
                       มากขึ้นตามขนาดของผลที่โตขึ้น ดังนั้นจึงตองใหน้ําแกลิ้นจี่ในปริมาณที่เพียงพอและสม่ําเสมอ

                       ประมาณสัปดาหละครั้ง ทั้งนี้ก็เพื่อใหผลมีการเจริญเติบโตขยายตัวเร็วขึ้นและผลมีคุณภาพดี

                       และเมื่อถึงระยะกอนเก็บเกี่ยวประมาณ 7–10 วัน ควรงดการใหน้ําลิ้นจี่ เพื่อเปนการควบคุมคุณภาพ

                       ของผลผลิตใหดีขึ้น
                            4.2 การใหปุยลิ้นจี่  แบงเปน 2 ระยะดังนี้

                                4.2.1 การใชปุยลิ้นจี่ที่ยังไมใหผลผลิต   การใหปุยระยะนี้มีเปาหมายเพื่อเรงการ

                       เจริญเติบโตของตนลิ้นจี่ใหเร็วที่สุด เพื่อใหสามารถใหผลผลิตไดภายในระยะเวลา 4 ป  โดยแบง
                       ตามอายุไดดังนี้

                                อายุปแรก  ใสปุยเคมีสูตรเสมอ เชนสูตร 15-15-15 ในอัตรา 0.5 กิโลกรัม/ตน/ป โดยให

                       แบงใส 2-3 ครั้ง ครั้งแรกใสในชวงตนฤดูฝน ครั้งที่ 2 ใสหลังจากครั้งแรกประมาณ 2-3 เดือน และ
                       ครั้งที่ 3 ใสในชวงปลายฤดูฝน โดยทุกครั้งที่มีการใสปุยเคมีควรมีการรดน้ําตามเสมอเพื่อไมใหมี

                       การสูญเสียธาตุอาหารโดยเฉพาะไนโตรเจน และไมจําเปนตองพรวนดิน เพราะจะเปนการไป

                       รบกวนระบบรากของลิ้นจี่ซึ่งกําลังเจริญอยางดีใหหยุดชะงัก

                                ปที่ 2-3  ใสปุยอินทรีย เชนปุยคอก ปุยหมัก ปละ 1 ครั้ง ในอัตรา 10-20 กิโลกรัม/ตน
                       สําหรับการใสปุยเคมี ใหใสปุยสูตร 15-15-15 ปละ 2 ครั้ง ในอัตรา 300-400 กรัม/ตน/ครั้ง  โดยครั้ง

                       แรกใสในชวงฤดูฝน สวนครั้งที่ 2 ใสหลังจากใสครั้งแรกประมาณ 2-3 เดือน หรือเมื่อลิ้นจี่แตกใบ

                       ออนแลว

                                4.2.2  การใสปุยลิ้นจี่ที่ใหผลผลิตแลว  เปนลิ้นจี่ที่มีอายุมากกวา 4 ป เปนชวงอายุที่ลิ้นจี่
                       เริ่มใหดอกออกผล หรือลิ้นจี่ที่เคยใหผลผลิตแลว ใหแบงใส 3 ระยะ ในอัตรา 2-5 กิโลกรัมตอครั้ง

                       ขึ้นอยูกับอายุของตนลิ้นจี่และความอุดมสมบูรณของดิน

                                     1)  ระยะหลังเก็บเกี่ยว  หลังจากเก็บเกี่ยวผลผลิตหมดแลวใหทําการกําจัดวัชพืชและ
                       ตัดแตงกิ่งที่ไมตองการออก แลวจึงทําการใสปุย เพื่อบํารุงตนใหสมบูรณแข็งแรง ใหมีการ



                       เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจลิ้นจี่                                                                                             สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   187   188   189   190   191   192   193   194   195   196   197