Page 58 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมังคุด
P. 58

3-3








                       ตอการหยั่งลึกของรากในดินมีปจจัยที่เกี่ยวของ ไดแก ลักษณะเนื้อดิน โครงสรางของดิน การเกาะตัว
                       ของดิน และปริมาณกรวดหรือเศษหินที่พบในหนาตัดดิน

                              -  สารพิษ (soil toxicities: z) คุณลักษณะที่ดินที่เปนปจจัยชี้วัด ไดแก ระดับความลึก

                       ของชั้น jarosite  ซึ่งจะมีอิทธิพลตอปฏิกิริยาของดิน  จะทําใหดินเปนกรดจัดมาก  ปริมาณซัลเฟต
                       ของเหล็กและอลูมินั่มในดินจะสูงมากจนเปนพิษตอพืช ในที่นี้พิจารณาความเปนกรดเปนดางของดิน

                       ซึ่งจะมีผลตอการเจริญเติบโตของพืช  เนื่องจากปฏิกิริยาดินจะทําใหสภาพตาง ๆ  ทางดานเคมีและ

                       ทางดานชีวภาพของดินถูกเปลี่ยนไปในสภาพที่เหมาะสมหรือไมเหมาะสมตอพืชที่ปลูกหรือมีผล
                       ตอกิจกรรมของจุลินทรียในดิน  โดยกิจกรรมของจุลินทรียในดินสามารถเปนตัวควบคุมระดับ

                       ของธาตุอาหารที่เปนประโยชนตอพืชได ดวยสาเหตุนี้จึงตองมีการปรับปรุงสภาพความเปนกรด

                       เปนดางของดินโดยขึ้นอยูกับชนิดพืชที่ปลูกดวย  เพื่อใหความเปนกรดเปนดางของดิน

                       อยูในสภาพที่เหมาะสม
                              - สภาวะการเขตกรรม (soil workability: k)  คุณลักษณะที่ดินที่เปนปจจัยชี้วัด

                       ไดแก  ชั้นความยากงายในการเขตกรรม  ซึ่งอาจหมายถึง  การไถพรวนโดยเครื่องจักรหรือสัตว

                       หรือเครื่องมืออื่น ๆ ที่ใชมือก็ได ชั้นระดับความยากงายในการไถพรวนใชมาตรฐานเดียวกัน

                       กับการจัดลําดับการหยั่งลึกของราก แตใชเฉพาะดินบนเทานั้น
                              - ศักยภาพการใชเครื่องจักร (potential for mechanization: w) คุณลักษณะที่ดิน

                       ที่เปนปจจัยชี้วัด ไดแก ความลาดชันของพื้นที่ ปริมาณหินโผล ปริมาณกอนหิน และการมีเนื้อดิน

                       เหนียวจัด ซึ่งปจจัยทั้ง 4 นี้อาจเปนอุปสรรคตอการไถพรวนโดยเครื่องจักร
                              - ความเสียหายจากการกัดกรอน (erosion hazard: e) คุณลักษณะที่ดินที่เปนปจจัยชี้วัด

                       ไดแก ความลาดชันของพื้นที่

                              จากหลักการของ FAO Framework  ไดจําแนกอันดับความความเหมาะสมของที่ดิน
                       เปน 2 อันดับ (Order) คือ

                              1)  อันดับที่เหมาะสม (Order S ; Suitability)

                              2) อันดับที่ไมเหมาะสม (Order N ; Not suitability)

                              และจาก 2 อันดับที่ได แบงยอยออกเปน 4 ชั้น (Class) ดังนี้
                                 S1  :  ชั้นที่มีความเหมาะสมสูง (Highly suitable)

                                 S2  :  ชั้นที่มีความเหมาะสมปานกลาง (Moderately suitable)

                                 S3  :  ชั้นที่มีความเหมาะสมเล็กนอย (Marginally suitable)

                                 N   :   ชั้นที่ไมมีความเหมาะสม (Not suitable)
                              ซึ่งระดับความตองการปจจัยตอการเจริญเติบโตของมังคุด   แสดงในตารางที่ 3-1





                       เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจมังคุด                                                                                           สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63