Page 55 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมังคุด
P. 55

2-33








                       ประชาธิปไตยประชาชนลาว สหรัฐอาหรับอิมิเรตส ฟจิ เวียดนาม เนเธอรแลนด และแคนาดา ในป 2546
                       ประเทศญี่ปุนไดมีการยินยอมใหมีการนํามังคุดผลสดจากประเทศไทยเขาสูตลาดญี่ปุนได

                       โดยมีขอแมวาตองเปนผลมังคุดที่ผานการอบไอน้ําปองกันการกําจัดแมลงวันผลไมแลวเทานั้น

                       แมวาจะมีขอมูลทางวิชาการวาแมลงวันผลไมไมเขาทําลายผลมังคุดที่ไมมีรอยแตก แตเนื่องจาก
                       ประเทศไทยยังเปนประเทศที่ยังมีโรคระบาดของแมลงวันผลไม จึงทําใหประเทศญี่ปุนกําหนด

                       มาตรการดังกลาวขึ้น สําหรับการนําเขามังคุดผลสดสูตลาดญี่ปุนในป 2546  นั้นยังมีปญหาไมมากนัก

                       เนื่องจากยังมีปญหาในเรื่องอุปสรรคในเรื่องเทคนิคการอบไอน้ํา แตเปนที่คาดหมายกันวาปริมาณ
                       และมูลคาการนําเขาจะสูงขึ้นในปตอ ๆ ไป


                              ประเทศที่เปนคูแขงขันของประเทศไทยสําหรับมังคุดผลสดในตลาดไตหวัน และฮองกง
                       คือ อินโดนีเซีย และฟลิปปนส ซึ่งแมรูปลักษณภายนอกจะดอยกวามังคุดจากประเทศไทย

                       แตขายในราคาถูกกวา เนื่องจากมีตนทุนในการผลิตและการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวต่ํากวา รวมทั้ง

                       คุณภาพภายในมีความแตกตางกันนอยมาก คือ ผูบริโภคมีโอกาสพบอาการเนื้อแกวและยางไหล
                       ภายในผลไดในปริมาณใกลเคียงกัน ผูบริโภคจึงมักเลือกซื้อมังคุดจาก 2  ประเทศนี้แทนมังคุด

                       จากประเทศไทย ทําใหปริมาณการนําเขามังคุดผลสดจากอินโดนีเซียเขามาในไตหวันสูงกวา

                       ยอดนําเขาจากประเทศไทยมาก ดังนั้นเกษตรกรไทยจึงตองพยายามเพิ่มปริมาณการผลิตมังคุด
                       คุณภาพดีอยางสม่ําเสมอ และลดตนทุนการผลิต เพื่อรักษาตลาดมังคุดที่มีอยู ในอนาคตประเทศไทย

                       อาจมีประเทศสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนามเปนคูแขงอีกประเทศหนึ่ง เนื่องจากประเทศ

                       สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนามมีการนําเขากิ่งพันธุมังคุดจากประเทศไทยเปนจํานวนมากและมี
                       ฤดูกาลของผลผลิตมังคุดจะใกลเคียงกับมังคุดไทย


                              นอกจากนี้ผลไมเมืองรอนและผลิตภัณฑจากกลุมประเทศลาตินอเมริกายังเปนคูแขง
                       ที่สําคัญของผลไมเมืองไทยในตลาดสหรัฐอเมริกาและประชาคมยุโรป เนื่องจากมีตนทุนการผลิต

                       ต่ํากวา ทําเลที่ตั้งใกลตลาด สะดวกและประหยัดคาขนสง รวมทั้งมีรสชาติและคุณภาพสอดคลอง

                       กับรสนิยมของผูบริโภค ดังนั้น ทางรอดของประเทศไทยในการเพิ่มสวนแบงการตลาดผลไมเมืองรอน
                       ในตลาดโลก จําเปนตองสรางความมั่นใจในสินคาผลไมจากประเทศไทย โดยใชคุณภาพและ

                       การตอบสนองตอผูบริโภคไดรวดเร็ว ทันตอสถานการณและความตองการเปนกลยุทธในการเพิ่ม

                       ขีดความสามารถในการแขงขันกับประเทศคูแขงอื่น ๆ












                       เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจมังคุด                                                                                           สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60