Page 56 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมังคุด
P. 56

บทที่ 3

                                                    การประเมินคุณภาพที่ดิน



                              การกําหนดเขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจ มังคุด มีความจําเปนตองประเมินคุณภาพที่ดิน

                       เพื่อเปนการพิจารณาศักยภาพของหนวยทรัพยากรที่ดินตอการใชประโยชนที่ดินประเภทตาง ๆ

                       ในระดับการจัดการที่แตกตางกัน   ซึ่งการประเมินคุณภาพที่ดินในหลักการของ FAO Framework
                       สามารถทําได 2 รูปแบบ

                              - รูปแบบที่หนึ่ง การประเมินทางดานคุณภาพหรือเรียกอีกอยางหนึ่งวาเปนการประเมิน

                       เชิงกายภาพเทานั้น วาที่ดินนั้นๆ เหมาะสมมากหรือนอยเพียงใดตอการใชประโยชนที่ดินประเภทตาง ๆ

                              - รูปแบบที่สอง การประเมินทางดานปริมาณหรือดานเศรษฐกิจ ซึ่งจะใหคาตอบแทน
                       ในรูปผลผลิตที่ไดรับ ตัวเงินในการลงทุน และตัวเงินจากผลตอบแทนที่ไดรับ



                       3.1 ระดับความตองการปจจัยสําหรับพืช


                              คุณภาพที่ดินที่นํามาประเมินสําหรับการปลูกพืชในระบบของ FAO Framework ไดกําหนด
                       ไวทั้งหมด 25 ชนิด   ไดแก

                              1) ความเขมของแสงอาทิตย (radiation regime) : u

                              2) อุณหภูมิ (temperature regime) : t
                              3) ความชุมชื้นที่เปนประโยชนตอพืช (moisture availability) : m

                              4) ความเปนประโยชนของออกซิเจนตอรากพืช (oxygen availability to root) : o

                              5) ความเปนประโยชนของธาตุอาหาร (nutrient availability) : s

                              6) ความจุในการดูดยึดธาตุอาหาร (nutrient retention capacity) : n
                              7) สภาวะการหยั่งลึกของราก (rooting condition) : r

                              8) สภาวะที่มีผลตอการงอกของเมล็ด (conditions affecting germination) : g

                              9) ความชื้นในอากาศที่มีผลตอการเจริญเติบโต (air humidity as affecting growth) : h

                              10) สภาวะการสุกแก (conditions for ripening) : i
                              11) ความเสียหายจากน้ําทวม (flood hazard) : f

                              12) ความเสียหายจากภูมิอากาศ (climatic hazard) : c

                              13) การมีเกลือมากเกินไป (excess of salts) : x
                              14) สารพิษ (soil toxicities) : z

                              15) โรคและศัตรูพืช (pests and diseases) : p
   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61