Page 60 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมังคุด
P. 60

3-5








                       3.2 คุณภาพของกลุมชุดดิน


                              กลุมชุดดินแตละกลุมจะมีลักษณะและสมบัติดินที่เฉพาะตามปจจัยการเกิดดินและการสรางดิน
                       เชน สภาพภูมิอากาศ ชนิดวัตถุตนกําเนิดดิน สภาพพื้นที่ ระยะเวลาการพัฒนาของดิน พืชพรรณ

                       ธรรมชาติ สิ่งที่มีชีวิต และการใชประโยชนที่ดิน เปนตน ซึ่งลักษณะและสมบัติที่เปนขอเดนประจํา

                       กลุมชุดดินไดสรุปไวโดยอาศัยการเปรียบเทียบขอมูลเหลานี้กับลักษณะของดินที่พบ จะทําให

                       สามารถจัดจําแนกดินในเบื้องตนไดวานาจะอยูในกลุมชุดดินใด และนําไปสูรายละเอียดอื่น ๆ
                       ของดิน รวมทั้งปญหาการใชประโยชน และแนวทางการจัดการดินที่เหมาะสมในลําดับตอไป


                              กลุมชุดดินที่ 1

                              เปนกลุมชุดดินที่เกิดจากวัตถุตนกําเนิดดินพวกตะกอนลําน้ํา ในบริเวณเทือกเขาหินปูน

                       หรือหินภูเขาไฟ สภาพพื้นที่เปนที่ราบลุม มีน้ําแชขังในชวงฤดูฝน เปนดินลึกที่มีการระบายน้ําเลว

                       หรือคอนขางเลว เนื้อดินเปนพวกดินเหนียวจัด หนาดินแตกระแหงเปนรองลึกในฤดูแลง
                       และมีรอยไถลในดิน สีดินสวนมากเปนสีดํา หรือสีเทาแกตลอด มีจุดประสีน้ําตาล สีเหลือง และ

                       อาจพบจุดประสีแดงบาง ปะปนตลอดชั้นดิน สวนดินชั้นลางมักมีกอนปูนปะปน ปฏิกิริยาดิน

                       สวนใหญเปนกรดเล็กนอยถึงเปนดางปานกลาง มีคาความเปนกรดเปนดางประมาณ 6.5-8.0
                       ดินมีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติปานกลางถึงสูง

                              ปญหาในการใชประโยชนที่ดิน ไดแก การไถพรวนลําบาก เนื่องจากเปนดินเหนียวจัด

                       ตองไถพรวนในชวงระยะเวลาที่ดินมีความชื้นที่เหมาะสม  ในขณะเดียวกันพืชที่ปลูกอาจขาดแคลนน้ํา

                       ไดงายเมื่อฝนทิ้งชวงนานกวาปกติ เนื่องจากน้ําที่ขังอยูจะซึมหายไปงาย เมื่อดินเริ่มแหง จะแตกระแหง
                       เปนรองลึก


                              กลุมชุดดินที่ 2

                              เปนกลุมชุดดินที่เกิดจากวัตถุตนกําเนิดดินพวกตะกอนผสมของตะกอนลําน้ําและ

                       ตะกอนน้ําทะเล แลวพัฒนาในสภาพน้ํากรอย พบบริเวณที่ราบชายฝงทะเลหรือที่ราบลุมภาคกลาง

                       ดินมีการระบายน้ําเลว มีเนื้อดินเปนพวกดินเหนียวหรือดินเหนียวจัด หนาดินอาจแตกระแหง
                       เปนรองลึกในฤดูแลง และมีรอยไถลในดิน สีดินเปนสีเทาหรือสีเทาแกตลอด มีจุดประสีน้ําตาล

                       สีเหลือง หรือสีแดงปะปนตลอดชั้นดิน อาจพบผลึกยิปซัมบางเล็กนอย และพบชั้นดินเหนียวสีเทา

                       ที่มีจุดประสีเหลืองของสารจาโรไซตในระดับความลึกประมาณ 100-150 เซนติเมตร ทับอยูบนชั้นดินเลน
                       ตะกอนน้ําทะเลที่มีสีเทาปนเขียว ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมาก มีคาความเปนกรดเปนดางประมาณ

                       4.5-5.0 ดินมีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติปานกลาง






                       เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจมังคุด                                                                                           สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65