Page 29 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมังคุด
P. 29
2-9
2.3 ทรัพยากรดิน
ทรัพยากรดินเปนทรัพยากรธรรมชาติที่มีความจําเปนตอการดํารงชีพของมนุษย ซึ่งจะมี
ความแตกตางกันตามสภาพแวดลอม สงผลใหมีลักษณะและการใชประโยชนที่แตกตางกันตามไปดวย
กรมพัฒนาที่ดินไดสํารวจและจําแนกดินทั่วประเทศ โดยศึกษาลักษณะทางกายภาพและเคมีเปนหลัก
และจัดทําแผนที่ชุดดินพรอมรายงาน และเนื่องจากชุดดินในประเทศไทยมีเปนจํานวนมาก
เพื่อประโยชนในดานการจัดการพื้นที่จึงมีการรวมชุดดินเปนกลุมชุดดิน โดยใชลักษณะของดิน
ที่มีความคลายคลึงกันหรือมีลักษณะเดนที่สามารถจัดการรวมกันได เชน ดินเหนียว ดินตื้น ดินรวน
ริมแมน้ํา ดินทรายหนามากกวา 100 เซนติเมตร ดินลึกปานกลางมีชั้นดาน ดินตื้นถึงหินพื้น ดินอินทรีย
ที่ระดับ 40-100 เซนติเมตร ดินลาดเชิงเขา เปนตน โดยสามารถแบงเปน 2 กลุมหลักตามสภาพความชื้น
ซึ่งพบในที่ลุมและที่ดอน แผนที่กลุมชุดดินที่จัดทําขึ้นมีทั้งในรูปแบบของแผนที่ และขอมูล
เชิงตัวเลข (digital) สําหรับใชในโปรแกรมทางดานสารสนเทศภูมิศาสตร โดยลักษณะดินที่พบ
ทางภาคตะวันออกและภาคใตสามารถจําแนกไดดังตอไปนี้
2.3.1 ภาคตะวันออก
สถานภาพของทรัพยากรดินในภาคตะวันออกคอนขางจะแตกตางกันมากทั้งในดาน
ภูมิอากาศดิน (soil climate) วัตถุตนกําเนิดดิน และพืชพรรณที่ขึ้นปกคลุม (vegetative covers)
ทั้งนี้เนื่องจากสภาพภูมิอากาศในบางพื้นที่มีลักษณะเหมือนภาคใต เชน จังหวัดจันทบุรีและตราด
บางพื้นที่เหมือนกับภาคกลาง เชน จังหวัดชลบุรี ฉะเชิงเทรา เปนตน ลักษณะทางธรณีสัณฐานและ
วัตถุตนกําเนิดดิน พอจะแบงออกเปนพวกใหญไดดังนี้
1) ธรณีสัณฐานที่เกิดจากการทับถมของตะกอน (landforms developed from
transported materials) แบงออกตามลักษณะพื้นที่ ดิน และการใชประโยชน ดังนี้
1.1) ธรณีสัณฐานที่เปนชายหาดหรือสันทรายริมฝงทะเล (beach and dune)
พบอยูบริเวณฝงทะเลและเปนแนวยาวขนานไปกับชายฝง มีความกวางไมแนนอนขึ้นกับลักษณะ
ของชายฝง และมักมีที่ลุมสลับอยูกับสันทราย วัตถุตนกําเนิดดินบริเวณนี้เปนตะกอนทรายที่น้ําทะเล
พัดมาทับถม ดังนั้นดินจึงมีลักษณะเนื้อดินเปนทรายจัดหรือเนื้อหยาบตลอดหนาตัดของดิน
มีการระบายน้ําดีมาก ความอุดมสมบูรณต่ํา สภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาด ความลาดชันอยูระหวาง
รอยละ 2 5 พืชพรรณที่ขึ้นอยูเปนปาชายหาด และปลูกมะพราวบางสวน สภาพธรณีสัณฐานชนิดนี้
พบบริเวณกวางในจังหวัดจันทบุรีและระยอง
1.2) ธรณีสัณฐานที่เปนที่ราบลุมน้ําทะเลทวมถึง (active tidal flat) มีสภาพพื้นที่
ราบเรียบ ในปจจุบันไดรับอิทธิพลจากน้ําทะเลที่พัดพาเอาตะกอนมาทับถม เปนตะกอนที่มีเนื้อละเอียด
เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจมังคุด สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน