Page 31 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมังคุด
P. 31

2-11








                       เปนดินลึก   สภาพการระบายน้ําดี   ดินและพื้นที่สวนนี้นับวามีความสําคัญตอการปลูกผลไม   เชน
                       ทุเรียน   เงาะ   มังคุด   และยางพารา   และยังเปนแหลงขุดพลอยที่สําคัญของภาคตะวันออก

                                   4) ธรณีสัณฐานที่เปนภูเขา ที่สําคัญไดแก เทือกเขาจันทบุรีประกอบดวยหินแกรนิต

                       มียอดสูงประมาณ 1,600 เมตร  จากระดับน้ําทะเล เทือกเขาที่สําคัญอีกเทือกเขาคือ  เทือกเขาบรรทัด
                       ซึ่งกั้นพรมแดนระหวางไทยกับกัมพูชาทางดานตะวันออกเฉียงเหนือ   นอกจากนี้ยังมีเทือกเขาเตี้ย

                       อยูทางดานตะวันตกของภาคในเขตจังหวัดชลบุรี และระยอง สูงจากระดับน้ําทะเลปานกลางอยูระหวาง

                       250-500  เมตร ลักษณะดินที่พบเปนดินตื้นลักษณะเนื้อดินไมแนนอนขึ้นอยูกับชนิดของหิน
                       ที่เปนตนกําเนิดดิน



                         2.3.2  ภาคใต

                                   ลักษณะทางธรณีสัณฐานและวัตถุตนกําเนิดดินในภาคใต   ถาพิจารณาจากฝงทะเล

                       เขามาหาเทือกเขาที่เปนสันอยูตอนกลางทั้งสองดาน คือ ทั้งทางดานตะวันตกและตะวันออก

                       ลักษณะภูมิสัณฐานและวัตถุที่ใหกําเนิดดินจะมีลักษณะเหมือนกัน แตกตางกันเฉพาะขนาดของพื้นที่
                       แตละชนิดของธรณีสัณฐาน   แตอยางไรก็ตามสภาพทางธรณีสัณฐานและวัตถุตนกําเนิดดินนับวามี

                       ความสัมพันธกับลักษณะกลุมชุดดินเปนอยางมาก   ซึ่งมีรายละเอียดดังตอไปนี้

                                   1)  ธรณีสัณฐานที่เกิดจากการทับถมของตะกอนน้ําทะเล (marine  sediments)
                       และของตะกอนน้ํากรอย (brackish water sediments) ซึ่งพอจะแยกเปนชนิดยอยไดดังนี้

                                       1.1) บริเวณสันทรายชายหาด (beach   ridges) รวมทั้งสันทรายที่มีอายุนอยและ

                       สันทรายเกา(old   beach)   พบเปนบริเวณไมกวางขนานไปกับชายหาดทั้งสองดาน มีความกวาง
                       ไมแนนอน   ดินที่พบบริเวณสัณฐานนี้เปนดินทรายจัด   และดินทรายที่มีชั้นดินดาน (spodic horizon)

                       อยูตอนลางภายในความลึก 2 เมตร แตสวนใหญพบภายใน 1  เมตรจากผิวดินบน ดินที่เกิดในสภาพพื้นที่นี้

                       มีความอุดมสมบูรณและความสามารถในการอุมน้ําต่ํา สภาพการระบายน้ําดีเกินไป การใชประโยชน

                       สวนใหญปลูกมะพราว   แตผลผลิตอยูในเกณฑไมคอยดีถึงปานกลาง
                                       1.2) บริเวณธรณีสัณฐานที่เปนที่ลุมต่ําระหวางสันทราย (lagoons)  มีน้ําขัง

                       ตลอดทั้งปเปนน้ําเค็ม และน้ํากรอย  และบริเวณที่ลุมต่ํานี้เองเปนแหลงสะสมพวกอินทรียสารทั้งที่

                       สลายตัวดีแลว และกําลังสลายตัวของเศษพืชตางๆ สะสมอยูเปนชั้นหนา แตถาเปนบริเวณริมขอบ
                       ของพรุหรือที่ลุมต่ําของอินทรียสารจะไมหนานัก  ดังนั้นดินที่พบจึงเปนดินเชิงอินทรีย (organic  soils)

                       เปนสวนใหญและเปนดินที่มีศักยภาพในการเพาะปลูกต่ํา พื้นที่ยุบตัวไดงาย ถาระบายน้ําออก

                       จะกลายเปนดินเปรี้ยวจัด และเปนดินที่ขาดแรธาตุที่จําเปนตอการเจริญเติบโตของพืช สภาพพื้นที่นี้

                       พบมากที่จังหวัดนราธิวาส





                       เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจมังคุด                                                                                           สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36