Page 32 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมังคุด
P. 32
2-12
1.3) บริเวณธรณีสัณฐานที่เปนที่ราบลุมน้ําทะเลทวมถึง (active tidal flats)
มีสภาพพื้นที่ราบเรียบ ในปจจุบันยังไดรับอิทธิพลจากน้ําทะเลพัดพาเอาตะกอนมาทับถมเปนตะกอน
ที่มีเนื้อละเอียดและมีปริมาณเกลือเปนองคประกอบอยูสูง ดินที่พบบริเวณนี้เปนดินเหนียวมีความชื้น
สูงมาก จึงมีลักษณะออนตัว มีความสามารถในการรับน้ําหนักต่ํา (low loading capacity) นอกจากนี้
ตะกอนที่ถูกพัดพามาทับถมมีองคประกอบของกํามะถันแตกตางกันดวย ถาพบในปริมาณสูงกวา
รอยละ 0.75 ดินจะมีความเปนกรดแฝงอยู ในสภาพที่ดินเปยกมีน้ําขังจะมีปฏิกิริยาเปนดาง
แตพอระบายน้ําออก และดินแหงจะกลายเปนดินเหนียวจัด
1.4) บริเวณธรณีสัณฐานที่เปนที่ราบลุมน้ําทะเลเคยทวมถึง และเกิดจากการทับถม
ของตะกอนน้ํากรอย (former tidal flats with brackish water sediments) ที่จริงแลวบริเวณธรณีสัณฐาน
สวนนี้ตะกอนที่พบดานลางสวนใหญเปนตะกอนน้ําทะเล (marine sediments) สวนบนเทานั้น
ที่เปนตะกอนน้ํากรอยที่น้ําจากแมน้ําลําคลองพัดพามาปะทะกับน้ําทะเลแลวกลายเปนน้ํากรอย
ดินที่พบในบริเวณพื้นที่สวนนี้มักเปนดินเปรี้ยวจัดหรือดินกรดกํามะถัน (acid sulphate soils)
การเกิดดินเปรี้ยวจัดมีกระบวนการทางเคมี เชนเดียวกับการเกิดดินเปรี้ยวในที่ราบภาคกลางตอนใต
2) ธรณีสัณฐานที่เปนที่ราบต่ําเกิดจากการทับถมของตะกอนน้ําจืดหรือตะกอน
จากแมน้ํา (fresh water deposits or riverine deposits) ดังที่ไดกลาวมาแลวในภาคใตเปนแมน้ําที่สั้น
พื้นที่เกิดจากการทับถมของลําน้ําจึงเปนบริเวณที่ไมกวางขวางนัก ฉะนั้นธรณีสัณฐานที่เกิดจาก
อิทธิพลของลําน้ําหรือแมน้ําแบงออกไดเปน 2 สวน คือ
2.1) บริเวณที่ราบน้ําทวมถึง (flood plain) พบบริเวณสองขางของแมน้ําสายสําคัญ
ในภาค ประกอบดวยสันริมฝงแมน้ํา (river levees) เปนพื้นที่แคบขนานไปกับแมน้ํามีสภาพพื้นที่
คอนขางราบเรียบถึงเปนลูกคลื่นเล็กนอย และเปนบริเวณที่ราบลุมหลังแมน้ํา (river basin) เปนสวนที่อยู
ถัดจากสันริมแมน้ําออกไปเปนที่ราบเรียบ มีน้ําขังในชวงฤดูฝน ดินมีสภาพการระบายน้ําเลว
และสวนใหญพบวาเปนดินเนื้อละเอียด ใชในการทํานาเปนสวนใหญ ดินที่พบเปนดินเนื้อละเอียด
ปานกลาง มีสภาพการระบายน้ําดีหรือดีปานกลาง
2.2) บริเวณลานตะพักลําน้ํา (river terraces) เปนบริเวณที่ดินดอน (upper
terraces) เกิดจากตะกอนที่ลําน้ําพัดพามาทับถมเปนเวลานานแลว มักพบกรวดที่มีรูปรางกลม ๆ
(cobbles) และกรวดลูกรังในชั้นดินตอนลาง มักพบเปนชั้นอยูตื้นกวา 1 เมตร ลักษณะเนื้อดินระเอียด
ปานกลาง การระบายน้ําดีปานกลางถึงดี มีสภาพพื้นที่คอนขางราบเรียบถึงเปนคลื่นเล็กนอย
3) ธรณีสัณฐานที่เหลือตกคางจากการกัดกรอน (dissected erosion surface or strath
terrace) พบบริเวณที่ราบระหวางหุบเขาและเนินเขาเตี้ยทั่ว ๆ ไป ลักษณะพื้นที่มักเปนลูกคลื่นลอนลาด
ถึงลอนชัน ดินที่เกิดในสภาพพื้นที่สวนนี้มีลักษณะแตกตางกันขึ้นอยูกับชนิดของหินที่ใหกําเนิดดิน
เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจมังคุด สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน