Page 14 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมังคุด
P. 14

1-5







                                       ผลตอบแทนจากการผลิตมังคุด  จําแนกใหสอดคลองกับการวิเคราะหตนทุนคือ
                       ผลตอบแทนเหนือตนทุนที่เปนเงินสด ผลตอบแทนเหนือตนทุนผันแปรและผลตอบแทน

                       เหนือตนทุนทั้งหมด   ซึ่งคํานวณไดจากผลตางระหวางมูลคาผลผลิตที่เกษตรกรไดรับทั้งหมด

                       กับตนทุนแตละประเภท
                                       ดวยเหตุที่มังคุดเปนพืชที่มีอายุเกินกวา 1 ป สามารถทําการเก็บเกี่ยวผลผลิตไดนานป

                       ดังนั้นไดทําการวิเคราะหทางการเงินที่ใชหลักการวิเคราะหเชนเดียวกับหลักการวิเคราะหโครงการ

                       (Project Analysis) คือ ใชมาตรวัดโครงการแบบมีการทอนคา (เพื่อลดผลกระทบที่เกี่ยวกับระยะเวลา

                       ที่เกิดขึ้น) มีการปรับคาของเงินในอนาคตใหเปนปจจุบันโดยใชอัตราการทอนคา (Discount Rate)

                       เปนตัวหักลดแลวคํานวณตนทุนและผลไดหรือผลตอบแทนที่เกษตรกรไดรับจากการผลิต  มาเปน
                       เกณฑประเมินความเหมาะสมทางดานเศรษฐกิจเพื่อเปรียบเทียบกับพืชเศรษฐกิจชนิดอื่นที่มี

                       รอบอายุการผลิตแตกตางกัน ผลการคํานวณออกมาในรูปมูลคา คือ บาทตอพื้นที่ 1  ไรตอป ทั้งนี้

                       กําหนดชวงอายุของมังคุดที่จะศึกษาไว 25  ป (ปที่ 1-25)  วิธีการและหลักเกณฑการตัดสินใจ

                       ดวยผลการวิเคราะหผลตอบแทนการลงทุนวาคุมคากับการลงทุน (ตนทุน)  หรือไมนั้น มี ดังนี้

                       (Gittinger,1972)

                                       1) อัตราสวนผลไดตอตนทุน (Benefit-Cost Ratio)  เปนการเปรียบเทียบ
                       มูลคาปจจุบันของผลไดและตนทุน โดยมีสูตรการคํานวณ คือ



                                          B/C ratio = ∑PP n  PP   Bt   ∑PP n   PP     Ct

                                                     t=1     t        t=1     t
                                                             PP  PP    (1+i)PP  PP               PP  PP    (1+i)PP
                                          เมื่อ  Bt  =     ผลไดในปที่ t

                                                  Ct  =    ตนทุนในปที่ t

                                                   i  =    อัตราสวนลด
                                                   t  =    ปที่ 1,2…….n

                                                  เงื่อนไขการตัดสินใจในการลงทุนB/C ≥ 1

                                       2)   มูลคาปจจุบันสุทธิ (Net Present Value, NPV) เปนการหามูลคาปจจุบัน

                       ของการปลูกมังคุด วาผลกําไรจากการลงทุนปลูกมังคุดมีมูลคาปจจุบันเปนจํานวนเทาใด โดยใชระดับ

                       อัตราดอกเบี้ยรอยละ 5.5  เปนตัวหักลด ซึ่งหาไดจากสมการ
                                            NPV =          ∑PP n  PP   Bt - Ct

                                                                               PP t=1 PP      (1+i)PP t






                       เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจมังคุด                         สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19