Page 10 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมังคุด
P. 10

บทที่ 1

                                                             บทนํา



                       1.1 หลักการและเหตุผล



                              มังคุดจัดเปนผลไมที่มีผูนิยมบริโภคกันอยางแพรหลาย   และเปนพืชเศรษฐกิจที่สําคัญ
                       พื้นที่ปลูกสวนใหญอยูในภาคตะวันออกและภาคใตของประเทศไทย   มังคุดเปนไมผลที่เจริญเติบโต

                       ในสภาพแวดลอมที่จํากัด   และตองมีการจัดการอยางดี   เพื่อใหไดผลผลิตที่มีปริมาณและคุณภาพ

                       ตรงตามความตองการของผูบริโภค แตเกษตรกรหลายรายยังมีการจัดการที่ไมถูกตอง เสียคาใชจาย

                       ในการบํารุงรักษาสูง   ทําใหรายรับที่ไดจากการขายผลผลิตไมคุมคากับการลงทุน   และมีหนี้สิน
                       ประกอบกับไมมีตลาดรับซื้อที่แนนอน   ไมมีการรวบรวมนําไปขายผานสหกรณอยางผลไมอื่น ๆ

                       อีกดวย   การกําหนดเขตการใชที่ดินของมังคุดจึงเปนแนวทางหนึ่งที่สามารถชวยลดปญหา

                       ดังกลาวขางตนได   เนื่องจากในขั้นตอนการดําเนินการไดมีการศึกษาลักษณะทางกายภาพ
                       เศรษฐกิจและสังคม   รวมถึงโอกาสและขอจํากัดในการผลิตและการตลาด   โดยไมพิจารณา

                       เปนรายพันธุ  เนื่องจากมังคุดเปนพืชที่มีเพียงพันธุเดียว เพื่อใชเปนขอมูลพื้นฐานในการกําหนด

                       เขตการใชที่ดิน ซึ่งจะสงผลใหมีการใชทรัพยากรที่มีอยูใหเกิดประโยชนสูงสุดและเกิดความยั่งยืน
                       ไมกอใหเกิดมลพิษตอสภาพแวดลอม

                              กรมพัฒนาที่ดินจึงไดดําเนินการกําหนดเขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจมังคุด เพื่อสนองรับ

                       ยุทธศาสตรของกระทรวงเกษตรและสหกรณที่มีระยะเวลาตั้งแตป พ.ศ. 2547  ถึง พ.ศ. 2552  ไมมี
                       นโยบายลดหรือเพิ่มพื้นที่ปลูกมังคุดใหคงอยูที่ 391,000 ไร แตตองมีผลผลิตตอไรเพิ่มขึ้น   และ

                       ในป พ.ศ. 2552     ใหมีผลผลิตอยูที่ 405,000  ตันตอป   โดยมีคุณภาพสําหรับการสงออกรอยละ 35

                       โดยจะเนนในพื้นที่ที่ดินมีความเหมาะสมสูงและปานกลางเปนหลักโดยพิจารณาปจจัยทางกายภาพ
                       ควบคูกับลักษณะทางเศรษฐกิจและสังคมเพื่อใชในการกําหนดเขตการใชที่ดินสําหรับพืชเศรษฐกิจ

                       มังคุดที่เหมาะสมตอไป
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15