Page 17 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมังคุด
P. 17

บทที่ 2

                                                          ขอมูลทั่วไป



                              มังคุดเปนไมผลเปนไมผลที่มีถิ่นกําเนิดอยูในประเทศอินโดนีเซียและคาบสมุทรมลายู

                       แตไมมีหลักฐานปรากฏแนชัดวามีการนําเขามาในประเทศไทยตั้งแตเมื่อใด เปนไมผลที่มีผูนิยม

                       บริโภคกันอยางแพรหลาย   มังคุดเปนไมผลที่เจริญเติบโตในสภาพแวดลอมที่จํากัดและนิยมปลูก
                       เปนสวนไมผลผสมกับไมผลชนิดอื่น ๆ ที่พบมากไดแกเงาะ  สําหรับประเทศไทยปลูกมาก

                       ที่ภาคตะวันออกและภาคใต โดยสภาพพื้นที่ตองมีความสูงจากระดับน้ําทะเลปานกลางตั้งแต

                       0-650  เมตร  มีความลาดชันรอยละ 1-3   และไมควรเกินรอยละ 15  ควรเลือกพื้นที่ใกลแหลงน้ํา

                       แตไมทวมขัง  ซึ่งลักษณะทางพฤกษศาสตร การปลูก และการดูแลรักษาแสดงในภาคผนวกที่ 2
                       ในที่นี้ขอกลาวถึงลักษณะทางกายภาพที่สําคัญของภาคตะวันออกและภาคใตดังตอไปนี้



                       2.1 ภูมิประเทศ


                         2.1.1  ภาคตะวันออก

                                   ภาคตะวันออกประกอบดวยพื้นที่ของจังหวัดปราจีนบุรี   สระแกว   ฉะเชิงเทรา

                       ชลบุรี  ระยอง   จันทบุรี   และตราด   มีลักษณะภูมิประเทศเปนภูเขาและเทือกเขาสูง   ที่ราบแคบ

                       ตอนบนและที่ราบตามชายฝงทะเล   สําหรับที่ราบตอนบนอยูในจังหวัดปราจีนบุรี   ซึ่งเปนที่ราบ
                       ระหวางเทือกเขาของภาคตะวันออกเฉียงเหนือและเทือกเขาของภาคตะวันออก   เดิมเทือกเขา

                       ทั้งสองอาจติดตอเปนเทือกเขาเดียวกัน  แตเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงทางธรณีวิทยาจึงทําใหแผนดิน

                       ยุบตัวลง เกิดที่ราบแคบระหวางเทือกเขาติดตอกับที่ราบของประเทศกัมพูชาประชาธิปไตย

                                   พื้นที่เปนเทือกเขาสูงในภาคตะวันออกไดแก เทือกเขาจันทบุรีซึ่งเปนเทือกเขา
                       หินแกรนิตมียอดสูงสองยอดคือ  ยอดเขาสอยดาวเหนือ และยอดเขาสอยดาวใต  มีความสูงประมาณ

                       1,586  เมตร และ 1,633  เมตร ตามลําดับ นอกจากเทือกเขาที่กลาวแลวยังมีเทือกเขาบรรทัดอยูทางดาน

                       ตะวันออกของภาค เปนเทือกเขาที่กั้นพรมแดนระหวางประเทศไทยกับประเทศกัมพูชาประชาธิปไตย
                                   นอกจากสภาพภูมิประเทศที่กลาวมาแลว  ในภาคตะวันออกยังประกอบดวยพื้นที่เนินเตี้ย

                       สลับกับพื้นที่ราบ   บางบริเวณมีภูเขาติดกับฝงทะเล   บริเวณฝงทะเลเปนที่ราบลุมที่น้ําทะเลเขาถึง

                       และปกคลุมไปดวยปาชายเลนเปนสวนใหญ   ในภาคตะวันออกยังมีเกาะเล็กและใหญอีกหลายเกาะ
                       ที่สําคัญไดแก  เกาะชาง เกาะกูด  เกาะสีชัง  และเกาะลาน ซึ่งเกาะเหลานี้เปนแหลงทองเที่ยวที่สําคัญ

                       ในปจจุบัน
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22