Page 19 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมังคุด
P. 19

2-3








                       2.2 ภูมิอากาศ


                         2.2.1  ภาคตะวันออก

                                   สภาพภูมิอากาศในภาคตะวันออกสามารถแบงออกไดเปน 2  ชนิด   ตามระบบ

                       การจําแนกภูมิอากาศของ Koppen  คือ แบบทุงหญาเมืองรอนหรือหรือแบบฝนเมืองรอนเฉพาะฤดู

                       (tropical savannah climate)  ไดแก  บริเวณทางดานตะวันตกของจังหวัดระยอง ชลบุรี ฉะเชิงเทรา
                       และปราจีนบุรี   บางสวนมีปริมาณฝนตกเฉลี่ยอยูระหวาง 1,200-1,600 มิลลิเมตรตอป   มีชวงฤดูฝน

                       และฤดูแลงแตกตางกันอยางชัดเจน   ดังนั้นพื้นที่บริเวณนี้จึงมีการปลูกพืชไรเปนพืชเศรษฐกิจ

                       โดยเฉพาะออย  มันสําปะหลัง  และสับปะรด   สวนภูมิอากาศอีกชนิดหนึ่งเรียกวา ภูมิอากาศแบบมรสุม

                       ในเขตรอน (tropical  monsoon  climate)  ซึ่งมีปริมาณฝนตกมากและมีชวงแหงแลงสั้น ไดแก
                       บริเวณพื้นที่ดานตะวันออกของจังหวัดระยอง จันทบุรี  และตราด มีฝนตกเฉลี่ยตั้งแต 1,600-4,000

                       มิลลิเมตรตอป โดยเฉพาะในจังหวัดจันทบุรี  และตราด ฝนตกเฉลี่ยสูงกวา 2,000 มิลลิเมตร และสูงที่สุด

                       ในอําเภอคลองใหญจังหวัดตราด  เฉลี่ยสูงกวา 3,000 มิลลิเมตร อุณหภูมิเฉลี่ยของภาคตะวันออก
                       อยูที่ 27-28 องศาเซลเซียส



                         2.2.2  ภาคใต

                                   สภาพภูมิอากาศในภาคใตแตกตางกับภาคอื่นของประเทศ  เปนภาคที่มีปริมาณฝน

                       ตกชุกและมีชวงแหงแลงที่มีฝนตกนอยเปนระยะเวลาสั้น  คือ ระหวางเดือนกุมภาพันธถึงเมษายน ทั้งนี้

                       เนื่องจากภาคใตเปนแหลมยื่นลงไปในทะเล   จึงไดรับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันออกเฉียงใต
                       พัดพาฝนมาตก   และในระหวางเดือนตุลาคมถึงเดือนมกราคม   ไดรับอิทธิพลจากลมมรสุม

                       ตะวันออกเฉียงเหนือที่พัดพาฝนมาตก   แตอยางไรก็ตามพื้นที่บริเวณชายฝงทะเลตะวันตกติดตอกับ

                       ทะเลอันดามันมีฝนตกชุกกวาชายฝงทางดานตะวันออกที่ติดตอกับอาวไทย คือ มีฝนตกเฉลี่ย 3,026
                       มิลลิเมตรตอปทางดานตะวันตก   และเฉลี่ย 2,230 มิลลิเมตรตอปทางตะวันออก   เนื่องจากปริมาณ

                       ฝนตกชุกในภาคใตจึงทําใหอากาศมีความชื้นสัมพัทธคอนขางสูง โดยเฉลี่ยแลวสูงกวารอยละ 70

                       ตลอดป และอุณหภูมิของอากาศคอนขางสม่ําเสมอตลอดป อุณหภูมิเฉลี่ยของภาคใตอยูระหวาง
                       26-28 องศาเซลเซียส

                                    ซึ่งปริมาณน้ําฝนเฉลี่ยรายปในรอบ 33  ป (พ.ศ. 2514  –  2546)  แสดงในตารางที่ 2-1

                       และรูปที่ 2-1









                       เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจมังคุด                                                                                           สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24