Page 48 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจถั่วเหลืองฤดูแล้งในเขตชลประทาน
P. 48

2-35








                       หรือประมาณรอยละ 82 ของความจุทั้งหมด และเขื่อนสิริกิติ์สามารถรับน้ําไดอีก 1,739 ลานลูกบาศกเมตร
                       หรือประมาณรอยละ 77  ของความจุทั้งหมด (ตารางที่ 2-11)

                                แตอยางไรก็ตาม ในชวงฤดูฝนป 2548 นี้ ปริมาณน้ําที่ไหลเขาสะสมในอางเก็บน้ําและ

                       เขื่อนก็ยังอยูในเกณฑนอยมาก  โดยเฉพาะอางเก็บน้ําในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ตารางภาคผนวกที่ 3)
                       ถาสถานการณดังกลาวยังคงเปนอยูอยางตอเนื่อง คาดวาจะสงผลกระทบตอการปลูกพืชฤดูแลงในป

                       ถัดไปคอนขางแนนอน จากรายงาน พบวา ฝนที่ตกในพื้นที่ลุมรับน้ําตางๆ ทั้ง 25 ลุมน้ํา ในชวงตน

                       ของฤดูฝนป 2548 ตั้งแตวันที่ 16 มีนาคม-4 พฤษภาคม 2548 รวม 927.73 ลานลูกบาศกเมตร
                       โดยวันที่ 4 พฤษภาคม 2548 ปริมาตรน้ําใชการไดรวม 12,756 ลานลูกบาศกเมตร หรือคิดเปนรอยละ 29

                       ของความจุที่ใชการได และมีปริมาณน้ําไหลเขาอาง รวม 8.61 ลานลูกบาศกเมตร ซึ่งอางเก็บน้ําที่มี

                       ปริมาตรน้ําไหลลงอางมากที่สุด ไดแก อางเก็บน้ําเขื่อนรัชชประภา จังหวัดสุราษฎรธานี มีปริมาตรน้ําไหล
                       เขาอาง 1.95 ลานลูกบาศกเมตร สําหรับอางเก็บน้ําเขื่อนที่อยูในภาวะวิกฤติ จํานวน 5 อาง ไดแก

                       อางเก็บน้ําเขื่อนจุฬาภรณ ลําตะคอง ลําพระเพลิง ทับเสลา และกระเสียว อยูในเกณฑรอยละ 5  6  8

                       8  และ  0  ของความจุใชการไดของอางเก็บน้ําตามลําดับ  อางเก็บน้ําที่ตองเฝาระวัง จํานวน 12 อาง

                       ไดแก ภูมิพล แมกวง ลําปาว อุบลรัตน ลํานางรอง มูลบน ลําแซะ วชิราลงกรณ บางพระ หนองปลาไหล
                       คลองสียัด และปราณบุรี อยูในเกณฑรอยละ 14-29 อางเก็บน้ําที่มีปริมาตรน้ําเพียงพอ จํานวน 12 อาง

                       ไดแก สิริกิติ์ แมงัด กิ่วลม น้ําอูน สิรินธร หวยหลวง น้ําพุง ปาสักฯ ศรีนครินทร แกงกระจาน

                       รัชชประภา และบางลาง อยูในเกณฑรอยละ 30 ขึ้นไป

                                ดังนั้น อาจกลาวไดวาสถานการณความแหงแลงและการลดลงของปริมาณน้ําชลประทาน
                       เพื่อการเพาะปลูก อันเกิดจากปรากฏการณเอลนิโญในชวงสองปที่ผานมา ซึ่งทําใหหลายพื้นที่ของ

                       ประเทศตองประสบปญหาความแหงแลง  สรางความเสียหายตอการเพาะปลูกขาวอยางหนัก

                       โดยเฉพาะขาวนาปรังที่ตองใชปริมาณน้ํามากกวาปกติ  นอกจากนี้  วิกฤติการณดังกลาว  ยังสราง
                       ความเสียหายตอการเพาะปลูกฤดูแลงอื่นๆ  อีกดวยทั้งนี้  ผลผลิตทางการเกษตรของพืชสําคัญๆ

                       ของไทยไดรับผลกระทบจากปญหาความแหงแลง  สําหรับแนวทางแกปญหานั้น  ตัวเกษตรกรเองก็

                       ตองวางแผนการเพาะปลูกพืช  โดยเฉพาะในพื้นที่ขาดแคลนน้ํา  จะพบวามาตรการการสงเสริมการ
                       ปลูกพืชใชน้ํานอยเปนมาตรการหนึ่งชวยลดปญหาดังกลาวได  โดยเฉพาะการเพาะปลูกพืชฤดูแลง

                       เชน พืชตระกูลถั่ว  และพืชไรที่ใชน้ํานอยทดแทนการเพาะปลูกขาวนาปรัง

                                สําหรับการแกไขปญหาความแหงแลง ในป 2547/2548 ทางการไดดําเนินการใน 3 ลักษณะ
                       คือ การทําฝนหลวง การจัดหาน้ําใหแกพื้นที่ที่ขาดแคลนน้ําโดยตรง และการบริหารการจัดสรรน้ํา

                       จากแหลงกักเก็บน้ําตางๆ โดยหนวยงานภาครัฐที่เกี่ยวของ สําหรับน้ําเพื่อการเกษตร ไดทําการ

                       ใชเครื่องสูบน้ํา สรางทํานบ/ฝายเก็บกักน้ํา และขุดลอกแหลงน้ํา การบริหารการจัดสรรน้ํา ไดทําการ


                       เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจถั่วเหลืองฤดูแลงในเขตชลประทาน    สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53