Page 47 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจถั่วเหลืองฤดูแล้งในเขตชลประทาน
P. 47

2-34








                         สวนสถานการณน้ําในเขื่อนในชวงตนฤดูแลงป 2548 พบวา สวนใหญปริมาณน้ําอยูใน
               ระดับปานกลางถึงต่ํามาก คือ ภาคเหนือ เขื่อนภูมิพล มีน้ํารอยละ 32.9 เขื่อนสิริกิติ์ มีน้ํารอยละ

               57.8 รวมปริมาณน้ําใชงาน 7,119 ลานลูกบาศกเมตร ซึ่งฤดูแลงปนี้ ทางการตองสงน้ําใหพื้นที่

               ชลประทานอีก 3,225 ลานลูกบาศกเมตร ใหเพียงพอตอการปลูกพืชฤดูแลงในพื้นที่โครงการใหญ เชน
               โครงการพิษณุโลก สวนภาคตะวันออกเฉียงเหนือปริมาณน้ําอยูในเกณฑคอนขางต่ําถึงต่ํามาก โดยน้ําใน

               เขื่อนอุบลรัตน  มีเพียง 609  ลานลูกบาศกเมตร  สวนเขื่อนสิรินธร  มีปริมาณน้ําคงเหลือ

               483 ลานลูกบาศกเมตร ที่เขื่อนลําปาว จังหวัดกาฬสินธุ น้ําในเขื่อนลําปาวปนี้มีปริมาณต่ําสุด
               ในรอบ 6 ป เหลือน้ําอยูเพียงรอยละ 35 หรือประมาณ 500 ลานลูกบาศกเมตร แตยังปลอยน้ํา

               ใหเกษตรกรในพื้นที่โครงการจนถึงปลายเดือนเมษายน 2548 หลังจากนั้นก็จะปดการสงน้ําและ

               ใหเกษตรกรใชน้ําอยางประหยัด
                         ตอมา ในชวงฤดูแลงป 2548 ปริมาณน้ํากักเก็บเพื่อใชประโยชน มีจํานวนลดลงอยางมาก

               โดยปริมาณน้ําที่เหลือใชงานไดจริงในเขื่อนและอางเก็บน้ําขนาดใหญทั่วประเทศ  เมื่อวันที่ 24

               กุมภาพันธ 2548  มีจํานวนเพียง 20,078  ลานลูกบาศกเมตร  หรือรอยละ 45  ของความจุใชงานได

               และลดลงเหลือเพียง 12,032 ลานลูกบาศกเมตร หรือรอยละ 27 ของความจุใชงานได ในชวง
               ปลายฤดูแลง  ณ  วันที่ 13  พฤษภาคม 2548 โดยอางเก็บน้ําที่อยูในภาวะวิกฤติจะมีปริมาณน้ํานอยลงไปอีก

               โดยมีปริมาณน้ําใชการไดไมเกินรอยละ 10 ของความจุกักเก็บน้ําที่ใชได โดยเฉพาะอางกระเสียว

               ไมมีปริมาณน้ําเหลือใหใชเลย  ดังนั้น ความเสี่ยงตอความแหงแลงและการขาดแคลนน้ําในอนาคต

               จะมีมากขึ้น  ความตองการใชน้ําเพิ่มขึ้น  เนื่องจากการเพิ่มของประชากรและกิจกรรมการผลิตทาง
               การเกษตรตางๆ  โดยเฉพาะการทํานาปรัง  ซึ่งมีการใชน้ําจากแหลงกักเก็บน้ําในแตละฤดูกาล

               เพาะปลูกมากถึงไรละ 1,600-2,000  ลูกบาศกเมตร  ขณะที่การกอสรางแหลงกักเก็บน้ําเพิ่มเติม

               โดยเฉพาะขนาดใหญมีขอจํากัดหลายประการ  รวมทั้งแหลงน้ําที่มีอยูแลวทั้งที่สรางขึ้นและตาม
               ธรรมชาติ  ยังมีความจุที่ลดลงจากการตื้นเขินและขาดการบํารุงรักษา  และจากรายงานสภาพน้ําใน

               เขื่อนภูมิพลและเขื่อนสิริกิติ์  ในชวงตนฤดูฝนป 2548  ในชวงวันที่ 23  มิถุนายน 2548  พบวา

               เขื่อนภูมิพลจุน้ําไดทั้งหมด 13,462  ลานลูกบาศกเมตร  มีน้ําใชการได 9,662  ลานลูกบาศกเมตร
               ขณะที่มีน้ําใชการได 1,717  ลานลูกบาศกเมตร  คิดเปนรอยละ 18  ของน้ําใชการได  การ

               ระบายทายเขื่อนภูมิพล 106 ลูกบาศกเมตรตอวินาที หรือ 9 ลานลูกบาศกเมตรตอวัน สวน

               เขื่อนสิริกิติ์จุน้ําไดทั้งหมด 9,510 ลานลูกบาศกเมตร มีน้ําใชการได 6,660 ลานลูกบาศกเมตร
               ขณะที่มีน้ําใชการได 1,533 ลานลูกบาศกเมตร คิดเปนรอยละ 23 ของน้ําใชการได การระบายน้ํา

               ทายเขื่อนสิริกิติ์ 104  ลูกบาศกเมตรตอวินาที  หรือ 9  ลานลูกบาศกเมตรตอวัน ดังนั้น  ทําใหความ

               พรอมในการรับน้ําเขาเขื่อนทั้งสอง คือ เขื่อนภูมิพลสามารถรับน้ําไดอีก 7,945  ลานลูกบาศกเมตร


               เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจถั่วเหลืองฤดูแลงในเขตชลประทาน    สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52