Page 46 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจถั่วเหลืองฤดูแล้งในเขตชลประทาน
P. 46

2-33








                       ของความจุใชการไดของอางฯ โดยในภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง และภาคใต
                       อยูรอยละ 68 63 69 และ 60 ของความจุใชการไดของอางฯ ตามลําดับ อางฯ ที่มีปริมาตรน้ําอยูใน

                       เกณฑนอยกวารอยละ 40 ไดแก อางเก็บน้ําแมกวง ลําตะคอง ลําพระเพลิง กระเสียว ทับเสลา และ

                       บางพระ  อางเก็บน้ําเขื่อนภูมิพลและเขื่อนสิริกิติ์ ซึ่งเปนแหลงน้ําตนทุนที่สําคัญของโครงการ
                       เจาพระยาใหญมีปริมาตรน้ําในอางฯ  ใชการไดรวมกันทั้งสิ้นประมาณ 11,079  ลานลูกบาศกเมตร

                       ของความจุเก็บกัก คิดเปนรอยละ 68 ของความจุเก็บกัก ตามลําดับ จะเห็นไดวา สภาพน้ําใน

                       แมน้ําสายตางๆ ในลุมน้ําภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวันออก และภาคใต
                       สวนใหญอยูในเกณฑนอย แนวโนมระดับน้ําลดลงมากกวาปกอนมาก

                                 เนื่องจากในฤดูแลงปนี้ปริมาณน้ําในอางเก็บน้ําหลายแหง  เชน  อางเก็บน้ํากระเสียว

                       จังหวัดสุพรรณบุรี อางเก็บน้ําทับเสลา จังหวัดอุทัยธานี อางเก็บน้ําลําตะคอง และอางเก็บน้ําลําพระเพลิง
                       จังหวัดนครราชสีมาอยูในเกณฑนอย  ดังนั้น  การบริหารจัดการน้ําในอางเก็บน้ําดังกลาว จึงมี

                       ความสําคัญยิ่ง  กรมชลประทาน จึงไดรวมหารือกับหนวยงานที่เกี่ยวของ เพื่อประสานความรวมมือกัน

                       ในการบริหารจัดการน้ําในอางเก็บน้ํา  วางแผนการบริหารจัดการน้ําใหเพียงพอตลอดชวงฤดูแลง

                       เนนสนับสนุนการอุปโภค  บริโภค  และการประปา  เปนหลัก  เพื่อลดปญหาการขาดแคลนน้ํา
                       อุปโภค-บริโภคที่อาจเกิดขึ้นได

                                 เมื่อวิเคราะหเปรียบเทียบสถานการณน้ําขณะนั้น พบวา ปริมาณน้ําในอางเก็บน้ําขนาดใหญ

                       30 อาง ป 2547/48 เมื่อเทียบกับ ป 2546/47 ในระยะเดียวกัน ในชวงตนฤดูแลงปนี้ (ตุลาคม 2547-

                       กุมภาพันธ 2548) ปริมาณน้ําในอางเก็บน้ําขนาดใหญมีนอยกวาชวงเดียวกันของปกอน โดย
                       ในชวงระยะเวลาดังกลาวฝนตกนอย  สงผลใหมีปริมาณน้ําฝนไหลลงอาง 5,597  ลานลูกบาศกเมตร

                       ซึ่งนอยกวาปกอน 2,780  ลานลูกบาศกเมตร สถานการณที่เกิดขึ้นนี้หลายหนวยงานประเมินใน

                       ขณะนั้นวา  ความแหงแลงปนี้จะรุนแรงกวาปที่ผานมามาก  พบวา  ตั้งแตปลายเดือนกันยายน 2547
                       เกิดสภาวการณทางธรรมชาติฝนทิ้งชวงเร็วกวาปกติ  ทําใหสถานการณความแหงแลง  แลงปนี้

                       ทวีความรุนแรงมาก และสงผลใหเกิดความแหงแลงครอบคลุมพื้นที่ในทุกภาคของไทย

                       โดยเฉพาะทําความเสียหายในภาคการเกษตร  จากการสํารวจจนถึงเดือนมีนาคม 2548  พบวา
                       ผลกระทบทําใหผลผลิตการเกษตรลดลงรอยละ 16.6  จากระยะเดียวกันของป 2547 โดยผลผลิตพืช

                       ไดรับผลกระทบมาก ไดแก ขาว ออยโรงงาน มันสําปะหลัง และไมผล และสงผลใหมีพื้นที่ประสบภัยแลง

                       แลว 66 จังหวัด พื้นที่การเกษตรเสียหาย 13,704,675 ไร มูลคาความเสียหาย 7,410,787,165 บาท
                       ในการนี้  หนวยงานที่เกี่ยวของได  กําหนดมาตรการเรงดวน  ใหเกษตรกรที่ตองใชน้ําจากลุมน้ํา

                       เจาพระยาตอนลางงดการปลูกขาวนาปรังครั้งที่ 2 โดยเด็ดขาด สวนเกษตรกรที่ตองใชน้ําจากอางเก็บน้ําที่

                       อยูในขั้นวิกฤติ 6 อาง ใหงดปลูกพืชฤดูแลง


                       เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจถั่วเหลืองฤดูแลงในเขตชลประทาน    สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51