Page 40 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจถั่วเหลืองฤดูแล้งในเขตชลประทาน
P. 40

2-27








                                       2)  การปลูกถั่วเหลืองหลังนาโดยการเตรียมดิน
                                   ในหลายพื้นที่ที่เกษตรกรมีความตองการใหผลผลิตของถั่วเหลืองมีปริมาณสูงและ

                       คุณภาพดี  เชน  การปลูกถั่วเหลืองเพื่อการผลิตเปนเมล็ดพันธุ  จึงนิยมที่จะมีการเตรียมดิน

                       เพื่อใหถั่วเหลืองมีผลผลิตสูง
                                   สําหรับการปฏิบัติในการปลูกถั่วเหลืองโดยการเตรียมดินนั้น  จะไถที่ในการปลูก

                       ถั่วเหลือง 2 ครั้ง คือ ไถดะ และไถแปร หากดินยังไมยอยโดยสม่ําเสมอจึงพรวนอีกครั้งหนึ่ง

                       จากนั้น  จึงใชรถแทรกเตอรชนิดไถเดินตามเปดรองน้ํา  ซึ่งจะทําใหขนาดของสันรอง 2-3  เมตร
                       ทั้งนี้เพื่อสะดวกในการใหน้ําและระบายน้ํา จากนั้นจึงปลูกถั่วเหลืองบนสันรอง ใชระยะระหวางแถว

                       50  เซนติเมตร และระยะระหวางหลุม 20 เซนติเมตร ปลูกถั่วเหลือง 4-5  เมล็ดตอหลุม แตเกษตรกร

                       บางรายอาจใชระยะระหวางแถว x ระยะระหวางหลุม 30 x 10 เซนติเมตร แตในกรณีเชนนี้ หยอด
                       เมล็ดเพียง 2-3 เมล็ดตอหลุมเทานั้น

                                 3) การปลูกแบบหวาน

                                   การปลูกแบบหวานมิใชเปนวิธีการที่นักวิชาการถั่วเหลืองแนะนําใหเกษตรกรปฏิบัติตาม

                       เพราะการหวานทําใหแปลงถั่วเหลืองงอกและเจริญเติบโตไมสม่ําเสมอ การจัดการกําจัดวัชพืชและ
                       การดูแลแปลง เพื่อใหมีการพนสารเคมีควบคุมศัตรูพืชไมสามารถทําไดสะดวก ดังนั้น การหวานเมล็ด

                       จึงไมใชวิธีที่จะทําใหถั่วเหลืองมีผลผลิตสูง หากแตวาเกษตรกรมักจะหวานถั่วเหลืองเมื่อตองการเวลา

                       ไปทํากิจกรรมอื่นๆ  เชน  ทํางานในโรงงานอุตสาหกรรมหรือหัตถกรรมไมตองการลงทุนสูง

                       เพราะไมแนใจเรื่องราคาผลิตผลที่จะขายได ตลอดจนการหวานโดยใชอัตราปลูกสูงทําใหไดจํานวนตน
                       เจริญเติบโตมาก ในกรณีของเมล็ดพันธุที่ความงอกต่ําและแกงแยงกับการเจริญเติบโตของวัชพืชไดดี

                                   เกษตรกรบางรายหวานเมล็ดลงในแปลงแลวคราดกลบ  และมักจะใชอัตรา

                       หวานเมล็ดสูงมาก
                                   อภิพรรณ (2543) ไดรายงานไววา จากการวิเคราะหพื้นที่ การวิเคราะหเกษตรนิเวศ

                       การประเมินสภาวะชนบทอยางเรงดวน  ทําใหทราบไดวา  วิธีการปลูกถั่วเหลืองโดยทั่วไปของ

                       เกษตรกรในจังหวัดพิษณุโลก ซึ่งรวมทั้งอําเภอบางระกําและอําเภอพรหม มี 3 กรรมวิธีดวยกัน คือ
                                   ก. การหวานซับตอซัง :  ทําโดยการสูบน้ําเขาพื้นที่หลังจากที่เก็บเกี่ยวขาวแลว

                       และมีเศษตอซังขาวเหลืออยูในพื้นที่ หวานเมล็ดถั่วเหลืองลงไป ทําการคราดกลบเมล็ด ทิ้งใหน้ําทวมขัง

                       อยูประมาณ 4-5 ชั่วโมง แลวระบายน้ําออก
                                   ข. หวานน้ําตมหรือหวานจอม :  มีการเตรียมพื้นที่เหมือนการปลูกขาวนาน้ําตม

                       ทําโดยการสูบน้ําเขานา ทําเทือกใหมีน้ําขังลึกประมาณ 20 เซนติเมตร หวานเมล็ดในขณะที่มีน้ําทวมขัง

                       ปลอยเมล็ดใหจมลงบนผิวดินสัก 2-3 ชั่วโมง แลวจึงระบายน้ําออก


                       เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจถั่วเหลืองฤดูแลงในเขตชลประทาน    สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45