Page 82 - รายงาน ผลของการใช้ผลิตภัณฑ์ชีวภาพเพื่อเร่งการย่อยสลายตอซังข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ Effect of using biological products for accelerating the degradation of maize stubble
P. 82

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                          76








                  จารุวรรณ  มณีศรี.  2541.  รายงานผลงานวิจัย เรื่อง การผลิตเอนไซม์เซลลูเลสจากขี้เลื่อยโดยเชื้อราด้วยการ
                         หมักแบบอาหารแข็ง.  สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล.
                  ธงชัย  มาลา.  2550.  ปุ๋ยอินทรีย์และปุ๋ยชีวภาพเทคนิคการผลิตและการใช้ประโยชน์.  สำนักพิมพ์
                         มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.

                  ชนากานต์  แย้มฏีกา, ผานิตย์  นาขยัน, สาวิกา  กอนแสง, ภาวิณี  อารีศรีสม และ วีณา  นิลวงศ์.  2565.
                        อิทธิพลของน้ำหมักชีวภาพต่อการย่อยสลายและการเปลี่ยนแปลงสมบัติทางเคมีของฟางข้าว.

                        แก่นเกษตร 50 (6): 1797-1807.
                  ดุสิต  อธินุวัฒน์.  2562.  การใช้ชีวภัณฑ์ชนิดผงจากดินขาวสำหรับย่อยฟางข้าวและควบคุมโรคขอบใบไหม้ใน
                         ระบบการปลูกข้าวอินทรีย์.  Thai Journal of Science and Technology 8 (2): มีนาคม -

                         เมษายน 2562.
                  นวลจันทร์  ชะบา.  2557.  ศึกษาการใช้น้ำหมักชีวภาพ และจุลินทรีย์ต่อการย่อยสลายตอซังข้าว การ

                         ปลดปล่อยไนโตรเจนที่เป็นประโยชน์ และการปลูกข้าวสุพรรณบุรี 1 ในชุดดินเดิมบาง.
                         กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, กรุงเทพฯ.

                  ปรีชา  ยอดยิ่ง, ศิริณา  ทองดอนน้อย และ สิรินภา  ช่วงโอภาส.  2562.  การคัดแยกแบคทีเรียย่อยสลาย
                         เซลลูโลส และประสิทธิภาพของการย่อยสลายซังข้าวโพดและผักตบชวาที่ใช้เป็นซับสเตรต.
                         แก่นเกษตร 47 (1): 177-186.

                  ปัทมา  วิตยากร, อรรณพ  พุทธโส, สมชาย  บุตรนันท์, ภาณุเดชา  กมลมานิทย์, เบ็ญจพร  กุลนิตย์ และ
                         รติกร แสงห้าว.  2556.  การปรับปรุงความอุดมสมบูรณ์ของดินทรายโดยใช้สารอินทรีย์: การศึกษาเชิง
                         กระบวนการ.  แก่นเกษตร 41 (2) (พิเศษ): 1-12
                  เปี่ยมสุข  พงษ์สวัสดิ์.  2551.  เอนไซม์ดัดแปรคาร์โบไฮเดรตในอุตสาหกรรม.  ศูนย์หนังสือแห่งจุฬาลงกรณ์

                         มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.
                  พิจิตรา  ตั้งเขื่อนขันธ์, รสรินทร์  รุจนานนท์ และ อัญชลี  อานาทสมบูรณ์.  2548.  การคัดเลือกเชื้อราเพื่อ
                         ผลิตเอนไซม์เซลลูเลสจากวุ้นมะพร้าวที่เป็นเศษเหลือทิ้งจากโรงงาน.  วิทยานิพนธ์ปริญญาโท,
                         สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.

                  พิมพ์เพ็ญ  พรเฉลิมพงศ์ และ นิธิยา  รัตนาปนนท์.  2552.  ลิกนิน.  แหล่งที่มา:
                         https://www.foodnetworksolution.com/wiki/word/3289/lignin, 20 มิถุนายน 2563.

                  ไพบูลย์  วิวัฒน์วงศ์นา.  2546.  เคมีดิน.  คณะเกษตรศาสตร์, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
                  มธุรส  ประเดิมชัย.  2554.  สารปกป้องเซลล์และความเข้มข้นที่เหมาะสมในการทำแห้งแบบพ่นฝอยของ

                         Lactobacillus plantarum FT35 สำหรับเป็นหัวเชื้อหมักปลาส้ม.  วิทยานิพนธ์ปริญญาโท,
                         จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
                  เมฆ  ขวัญแก้ว, พิพัฒน์  เหลืองลาวัณย์ และ วิศิษฐิพร สุขสมบัติ.  2553.  การใช้เปลือกมันสำปะหลังและกาก
                         มันสำปะหลังเป็นส่วนผสมในการผลิตอาหารหยาบหมัก.  ว. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
                         มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 12 (3): 92-103.
   77   78   79   80   81   82   83   84   85   86   87