Page 36 - รายงานการประยุกต์ใช้ฐานข้อมูลการสำรวจระยะไกลจากซอฟต์แวร์รหัสเปิดและคลาวด์คอมพิวติงเพื่องานพัฒนาที่ดิน Utilization of Remote Sensing Database derived from Open-source software and Cloud computing platform for Land Development
P. 36

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน


                                                                                                           28







                       ต่อเนื่อง การประยุกต์ใช้การส ารวจระยะไกลในความหลากหลายทางชีวภาพจึงเริ่มมีบทบาทมากขึ้น เช่น
                       การใช้ภาพถ่ายชนิดไฮเปอร์สเปกตรัม และ 3 มิติโดยใช้ LiDAR ศึกษาโครงสร้างพืชพรรณ เป็นต้น การ
                       ประเมินการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมและความหลากหลายทางชีวภาพโดยใช้ข้อมูลการส ารวจระยะไกล
                       สมารถใช้ส าหรับการท าแผนที่ความหลากหลายทางชีวภาพ ชนิดพันธุ์ที่รุกราน เป็นต้น นอกจากนี้การใช้

                       ภาพถ่ายจากดาวเทียวสามารถใช้เพื่อเพื่อติดตามขอบเขตและความอุดมสมบูรณ์ของพื้นที่ป่าและเขต
                       อนุรักษ์พันธุ์ไม้
                               2.3.5 งานจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ า
                                     ข้อมูลภาพจากเทคโนโลยีส ารวจระยะไกลสามสรถน ามาใช้ประมาณความสูงพื้นผิว เช่น

                       ข้อมูลดาวเทียมระบบ (RADAR) และกระสวยอวกาศ เช่น ภารกิจของ Shuttle Radar Topography
                       Mission (SRTM) ของ NASA ที่สามารถสร้างแผนที่ขนาดจุดภาพ 30 เมตร ภายในเวลาเพียง 11 วัน ซึ่ง3
                       การหาระดับความสูงและรูปร่างโดยใช้โฟโตแกรมเมตรี (Photogrammetry) มีอายุย้อนไปถึงกลาง
                       ศตวรรษที่ 19 ใช้เพื่อค้นหาคุณสมบัติทางเรขาคณิตของวัตถุโดยการวัดระยะห่างระหว่างวัตถุ ซึ่งภาพที่ได้

                       จากการประมาณความสูงพื้นผิวสามารถน ามาใช้ประโยชน์ ได้แก่ การท าแผนที่รูปร่าง แบบจ าลองพื้นผิว
                       การส ารวจปริมาตร และการท าแผนที่สามมิติ นอกจากนี้ยังใช้ในด้านอื่นๆ เช่น การท าแผนที่สถานที่เกิด
                       เหตุ การขุดค้นทางโบราณคดี การออกแบบสถาปัตยกรรม การออกแบบระบบชลประทานเพื่อจ่ายน้ า

                       เพื่อการเกษตรอุตสาหกรรมอื่นๆ และการจ าแนกลุ่มน้ า เป็นต้น ซึ่งการจ าแนกลุ่มน้ าโดยใช้ DEM ส าหรับ
                       นักอุทกวิทยา สามารถใช้ก าหนดต าแหน่งและวิธีการไหลของน้ าในลุ่มน้ า ซึ่ง DEM ถูกน ามาใช้เพื่อแสดง
                       เส้นทางการไหลของน้ าและพื้นที่ที่มีส่วนร่วมได้อย่างแม่นย า
                               2.3.6 การศึกษาภัยธรรมชาติ
                                     การส ารวจระยะไกลสามารถใช้เพื่อศึกษาความเสียหายที่เกิดจากแผ่นดินไหว ภูเขาไฟ

                       ดินถล่ม น้ าท่วม และการละลายของน้ าแข็งในบริเวณขั้วโลก การส ารวจระยะไกลหลายครั้งจะเป็น
                       ประโยชน์ในการท านายการเกิดภัยธรรมชาติ การวัดระดับน้ าทะเลที่สูงขึ้นการจัดท าแผนที่ดินถล่มโดยใช้
                       เทคนิค อินเตอร์เฟอโรเมทรี ซึ่งจากการประยุกต์ใช้ข้อมูลเทคโนโลยีการส ารวจระยะไกล สามารถใช้

                       ป้องกันและเยียวยาจากการเกิดภัยธรรมชาติด้านต่างๆ เช่น การใช้ข้อมูลภาพถ่ายแบบ Radar ในการ
                       สร้างแบบจ าลองทางอุทกวิทยา และจัดท าแผนที่พื้นที่ที่มีแนวโน้มที่จะเกิดน้ าท่วม และประเมินความ
                       รุนแรงและความถี่ในการเกิดน้ าท่วม เป็นต้น และในบางประเทศ เช่น สหรัฐอเมริกา (USGS) วัดการ
                       เจริญเติบโตของพืชโดยใช้ช่วงคลื่นอินฟราเรดและช่วงคลื่นสีแดงของ Landsat ร่วมกับ NDVI ในการ

                       ประเมินเพื่อใช้ประกันภัยพืชผล ซึ่งช่วยให้เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้นเมื่อผลลิตตกต่ าจากภัยธรรมชาติ
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41