Page 35 - รายงานการประยุกต์ใช้ฐานข้อมูลการสำรวจระยะไกลจากซอฟต์แวร์รหัสเปิดและคลาวด์คอมพิวติงเพื่องานพัฒนาที่ดิน Utilization of Remote Sensing Database derived from Open-source software and Cloud computing platform for Land Development
P. 35

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน


                                                                                                           27







                       จากชนบทสู่เมือง ความเป็นเมืองเชื่อมโยงกับความเป็นอุตสาหกรรม ท าให้จ าเป็นต้องใช้แผนที่การใช้ที่ดิน
                       ในการก าหนดเขตเมือง และนอกจากนี้ในบริเวณที่เข้าถึงได้ยากหรือเข้าถึงไม่ได้ เช่น พื้นที่ป่าไม้ หรือพื้นที่
                       ที่ไม่มีเส้นทางคมราคมข้อมูลจากภาพถ่ายดาวเทียมดาวเทียม สามารถใช้ในการศึกษาการตัดไม้ท าลายป่า
                       ความเสื่อมโทรมที่ดินจากการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน รวมถึงการประเมินปริมาณพื้นที่การเกษตร

                       โดยเฉพาะพืชเศรษฐกิจ ซึ่งสามารถน าไปบริหารจัดการพื้นที่ ผลผลิตและราคาได้ต่อไป
                                      2.3.2 การศึกษาทรัพยากรดิน
                                            ส าหรับการเกษตรแบบแม่นย า การวิเคราะห์ความอุดมสมบูรณ์ดินเป็นสิ่งจ าเป็น
                       ซึ่งเป็นปัจจัยหนึ่งดินที่ส าคัญ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพืชผล ได้แก่ อินทรียวัตถุในดิน เนื้อดิน

                       ระดับความเป็นกรดเป็นด่าง ปริมาณความชื้น เป็นต้น แต่อย่างไรก็ตามการวิเคราะห์ความอุดมสมบูรณ์ดิน
                       ในห้องปฏิบัติการมีหลายขั้นตอนตั้งแต่การเก็บตัวอย่างดินในภาคสนาม การเตรียมตัวอย่างดินและ
                       วิเคราะห์ตัวอย่างดิน ซึ่งต้องใช้แรงงาน งบประมาณ และเวลามาก ปัจจุบันได้มีการน าเทคโนโลยีการ
                       ส ารวจระยะไกลมาศึกษาความอุดมสมบูรณ์ดิน ซึ่งส่งผลต่อการเจริญเติบโต ผลผลิต มวลชีวภาพ และ

                       ความหนาแน่นของพืช โดยการสร้างแบบจ าลองส าหรับประมาณสมบัติทางเคมีดินเชิงพื้นที่เพื่อสร้างแผน
                       ที่สมบัติทางเคมีดินได้ทั้งในระดับแปลง ระดับภูมิภาค และระดับโลก เช่น การหาปริมาณความชื้นดินโดย
                       ใช้เซ็นเซอร์แบบ active และ passive จากอวกาศ ความชื้นดินมีส่วนช่วยอย่างมากในการท าความเข้าใจ

                       วิทยาศาสตร์โลก เช่น อธิบายวัฏจักรน้ าของโลก การพยากรณ์อากาศ
                                      2.3.3 การศึกษาทรัพยากรน้ า
                                            เนื่องจากการเติบโตของจ านวนประชากรและความต้องการอาหาร การติดตาม
                       และประเมินทรัพยากรน้ าเพื่อการเกษตรจึงมีความส าคัญต่อการบรรลุความมั่นคงด้านอาหารและการ
                       พัฒนาที่ยั่งยืน การรับรู้จากระยะไกลในการท าฟาร์มแบบแม่นย าได้ให้ข้อมูลที่ถูกต้องและทันท่วงที เช่น

                       แหล่งน้ า พื้นที่เพาะปลูกชลประทาน สถานะน้ าในการเพาะปลูกและดิน และมาตราส่วนต่างๆ การท านาย
                       สภาพอากาศและปริมาณน้ าบนผิวโลกโดยใช้เทคโนโลยีระยะไกลมีเพิ่มมากขึ้น
                                      2.3.4 การศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมและผลกระทบ

                                            การศึกษาปัจจัยด้านภูมิอากาศจากอดีตถึงปัจจุบันมีความส าคัญอย่างมากโดย
                       องค์การ NASA ก าลังท าแผนที่ปัจจัยด้านสภาพอากาศ (Global Time-Series Climate Maps) ที่
                       แตกต่างกันในแต่ละเดือนเพื่อดูว่าตัวแปรเหล่านี้เปลี่ยนแปลงไปมากน้อยเพียงใด ท าให้สามารถจัดท า
                       ข้อมูลแผนที่ตัวแปรสภาพอากาศ เช่น คาร์บอนมอนอกไซด์ คลอโรฟิลล์ และขนาดละอองลอย ในแต่ละ

                       ช่วงเวลาได้โดยใช้ข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม เช่น MODIS, CERES, AMSR-E, TRMM และ MOPITT
                       นอกจากนี้โปรแกรม Copernicus ของ European Space Agency (ESA) องค์การอวกาศยุโรป ก็มี
                       การศึกษาสภาพแวดล้อม โดยการใช้ดาวเทียม Sentinel หกดวงของ Copernicus เก็บภาพที่ครอบคลุม
                       เนื้อหา ได้แก่ ผืนดิน มหาสมุทร การรับมือเหตุฉุกเฉิน บรรยากาศ ความปลอดภัย และการเปลี่ยนแปลง

                       สภาพภูมิอากาศ นอกจานี้ยังมีการศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพ (biodiversity) ของสัตว์และพืชใน
                       พื้นที่ทางภูมิศาสตร์ ด้วยความละเอียดเชิงพื้นที่และเชิงสเปกตรัมของเซ็นเซอร์ที่ได้รับการพัฒนาอย่าง
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40