Page 33 - รายงานการประยุกต์ใช้ฐานข้อมูลการสำรวจระยะไกลจากซอฟต์แวร์รหัสเปิดและคลาวด์คอมพิวติงเพื่องานพัฒนาที่ดิน Utilization of Remote Sensing Database derived from Open-source software and Cloud computing platform for Land Development
P. 33

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน


                                                                                                           25







                                        2.2) ระบบ active sensor system เป็นระบบที่ใช้แหล่งก าเนิดคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า s
                       หรือแหล่งพลังงานของตนเองในการบันทึกข้อมูล เซ็นเซอร์ดังกล่าวปล่อยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าไปยังวัตถุที่
                       ต้องการ จากนั้นตรวจจับและวัดความเข้มของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่สะท้อนกลับมา เซ็นเซอร์ที่ใช้งานอยู่
                       ส่วนใหญ่ท างานในช่วงคลื่นไมโครเวฟ ซึ่งช่วยให้สามารถทะลุผ่านชั้นบรรยากาศได้ในเกือบทุกสภาพ

                       อากาศ ข้อดีของเซ็นต์เซอร์ประเภทนี้คือไม่มีเงาเนื่องจากไม่เปลี่ยนแปลงตามมุมของดวงอาทิตย์ ใช้งาน
                       ง่าย เช่นใช้ติดบนรถแทรกเตอร์หรือเครื่องบิน ไม่มีข้อจ ากัดด้านเวลาและสภาพภูมิอากาศ เนื่องจากคลื่น
                       ไมโครเวฟสามารถส่งสัญญาณทะลุผ่านกลุ่มเมฆ หมอก ฝนได้ บันทึกสัญญาณได้ทั้งเวลากลางวันและ
                       กลางคืน และในทุกฤดูกาล (Remote Sensors,2018; Clark, n.d.; Horning et al., n.d.) ข้อเสียคือ ไม่

                       สามารถใช้ร่วมกับเซ็นเซอร์แบบ passive ไม่สามารถใช้ส าหรับการศึกษาในแถบช่วงคลื่น เช่นการค านวณ
                       ดัชนีพืชพรรณ (Clark, n.d.) ระบบ active sensor system เป็นระบบที่มีแหล่งก าเนิดพลังงานจากการ
                       สร้างขึ้นของอุปกรณ์ส ารวจในช่วงคลื่นไมโครเวฟ ที่น ามาใช้ในระบบเรดาร์ (Radio Detector and
                       Ranging) โดยส่งผ่านพลังงานนั้นไปยังพื้นที่เป้าหมายและบันทึกสัญญาณการกระจัดกระจายกลับ

                       (Backscatter) จากพื้นที่เป้าหมาย Active remote sensing ซึ่งหลักการท างานของระบบเรดาร์
                       (RADAR) ในการส ารวจทรัพยากรด้วยดาวเทียมระบบเรดาร์ที่ต้องการมีรายละเอียดสูง(High
                       Resolution) ใช้ระบบการบันทึกข้อมูลแบบ Synthetic Aperture Radar (SAR) ที่พัฒนาจานรับ

                       สัญญาณเรดาร์แบบสังเคราะห์ (Synthetic Antenna) ให้มีขนาดใหญ่กว่าจานเรดาร์ธรรมดา จึงให้
                       รายละเอียดที่สูงโดยการบันทึกภาพของระบบเรดาร์นั้นบันทึกจากทางด้านข้างของดาวเทียมมุมตกกระทบ
                       ในการบันทึกจะแตกต่างกันไปในแต่ละดาวเทียม ซึ่งมุมตกกระทบดังกล่าวมีผลต่อพลังงานที่กระเจิงกลับ
                       การบันทึกของระบบเรดาร์มีช่วงความถี่คลื่นไมโครเวฟ ระหว่าง0.3 - 12.5 GHz หรือความยาวคลื่น 2.4 -
                       100 เซนติเมตร และด้วยย่านความถี่แต่ละแถบความถี่มีความสามารถในการทะลุทะลวงที่แตกต่างกัน

                       ระบบเรดาร์จึงแบ่งแถบความถี่ (Band) ออกเป็น 5 แถบความถี่ ได้แก่ X-band ที่มีความถี่สูงสุด
                       รองลงมาคือ C-band S-band L-band และ P-band ตามล าดับ แสดงการสารวจด้วยระบบเรดาร์ย่าน
                       ความถี่ต่าง ๆ ดาวเทียมส ารวจทรัพยากรธรรมชาติในระบบ passive sensor system ที่นิยมใช้ใน

                       การศึกษาปรากฎการณ์ต่างๆ ได้แก่ ดาวเทียม Sentinel-1
                                        ดาวเทียม Sentinel-1 เป็นดาวเทียมที่พัฒนาโดยองค์การอวกาศสหภาพยุโรป
                       (European Space Agency: ESA) ประกอบด้วยดาวเทียม Sentinel-1A ถูกส่งขึ้นสู่อวกาศวันที่ 3
                       เมษายน พ.ศ. 2557 และ Sentinel-1B ถูกส่งขึ้นสู่อวกาศวันที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2559 รูปร่างดาวเทียม

                       Sentinel-1 ดังภาพที่ 14 โดยมีภารกิจในการคาดการณ์มหาสมุทร และที่ดิน ในทุกสภาพอากาศ ทั้งใน
                       เวลา กลางวันและกลางคืน เช่น การสังเกตการณ์พื้นที่ป่าไม้ พื้นที่เปิดโล่ง พื้นที่แหล่งน้า พื้นที่
                       เกษตรกรรม การท าแผนที่ภัยพิบัติ การคาดการณ์การเดินเรือในมหาสมุทร การคาดการณ์การเคลื่อนตัว
                       ของน้าแข็ง ทาแผนที่การรั่วไหลของน้ามัน และการแจ้งเตือนเรือเดินทะเล เป็นต้นดาวเทียมทั้งสองดวงมี

                       การโคจรแบบสัมพันธ์กับดวงอาทิตย์ (Sun-synchronous) โคจรเป็นวงกลมใกล้ขั้วโลก (Near-polar)
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38