Page 40 - รายงานการประยุกต์ใช้ฐานข้อมูลการสำรวจระยะไกลจากซอฟต์แวร์รหัสเปิดและคลาวด์คอมพิวติงเพื่องานพัฒนาที่ดิน Utilization of Remote Sensing Database derived from Open-source software and Cloud computing platform for Land Development
P. 40

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน


                                                                                                           32







                       ความคมชัดมากขึ้นเพื่อให้ง่ายต่อการแปลตีความจากภาพ โดยการปรับในแผนภูมิภาพ
                       (Imagehistogram) การประมวลผลภาพ (Image processing) เป็นกระบวนการหรือกรรมวิธีจัดจ าแนก
                       ค่าของจุดภาพลงในชั้นการจ าแนกประเภทข้อมูล เพื่อจัดกลุ่มของจุดภาพให้เป็นกลุ่มหรือชั้นของการ
                       จ าแนก ตามเงื่อนไขที่ก าหนด การจ าแนกภาพแบ่งเป็น การจ าแนกแบบควบคุม (Supervised

                       classification) โดยใช้การแบ่งประเภทของการสะท้อนช่วงคลื่นออกเป็นกลุ่มตัวอย่างหลายๆ กลุ่มแล้ว
                       ก าหนดให้เป็นพื้นที่ของกลุ่มข้อมูลตัวอย่าง (Training area) เพื่อเป็นตัวแทนของลักษณะต่างๆ ใช้ส าหรับ
                       ค านวณค่าทางสถิติ เช่น ค่าเฉลี่ยของแต่ละประเภทข้อมูล ค่าสถิติดังกล่าวใช้เป็นตัวแทนส าหรับการ
                       จ าแนกประเภทของข้อมูลการจ าแนกภาพแบบนี้ต้องใช้ข้อมูลภาคพื้นดินมาช่วยส่วนการจ าแนกภาพอีก

                       แบบเรียกว่า การจ าแนกแบบไม่ควบคุม (Unsupervised classification) เป็นการจ าแนกโดยใช้การ
                       จ าแนกประเภทข้อมูลจากค่าสถิติของการสะท้อนของช่วงคลื่นของวัตถุต่างๆ เรียกว่าการจับกลุ่มของ
                       ข้อมูล (Clustering) ด้วยเหตุที่การใช้ที่ดินในประเทศไทยได้มีการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอข้อมูลจาก
                       ดาวเทียมจึงถูกน ามาใช้ในการจ าแนกและจัดท าแผนที่การใช้ที่ดินและสิ่งปกคลุมดินโดยกรมพัฒนาที่ดินได้

                       ใช้ข้อมูลภาพภ่ายเหล่านี้ในการศึกษา และการวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงสภาพการใช้ที่ดิน ตลอดจนการ
                       จัดท าแผนที่แสดงขอบเขตการใช้ที่ดินแต่ละประเภท เช่น ด้านการเกษตรซี่งส่วนใหญ่ใช้ศึกษาพื้นที่
                       เพาะปลูก การเปลี่ยนแปลงบริเวณเพาะปลูกพืชเศรษฐกิจ การประเมินความเสียหายจากศัตรูพืช เป็นต้น

                       การน าข้อมูลจากดาวเทียมสามารถน ามาใช้ในการวิเคราะห์สภาพการใช้ที่ดินสามารถท าได้สองแบบ คือ
                       การแปลด้วยสายตา และการใช้คอมพิวเตอร์ช่วย ท าให้ได้ผลที่ดี และเป็นที่เชื่อถือได้ ข้อมูลที่ได้ทันต่อ
                       เหตุการณ์ และมีความต่อเนื่อง การน าข้อมูลการส ารวจระยะไกลซึ่งโดยทั่วไปนิยมใช้ภาพถ่ายดาวเทียมมา
                       ใช้ในการวิเคราะห์สภาพการใช้ที่ดินสามารถท าได้สองแบบ คือ การแปลด้วยสายตา และการแปลโดยใช้
                       คอมพิวเตอร์ช่วย ซึ่งรายละเอียดของแต่ละวิธืมีดังนี้


                       3.2 การแปลตีความข้อมูลภาพด้วยสายตา (ทศนัศว์, 2560)
                               การแปลตีความข้อมูลภาพถ่ายจากดาวเทียมด้วยสายตา (Visual interpretation) เป็นวิธีการแปล
                       ความหมายจากข้อมูลโดยไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อให้ได้ข้อมูลตามวัตถุประสงค์ การจ าแนกข้อมูลวิธีนี้มักจะ
                       ประมวลและตีความข้อมูลที่ได้จากภาพถ่ายจากดาวเทียมหรือภาพถ่ายทางอากาศเข้ากับข้อมูลอื่นๆ เช่น
                       ข้อมูลที่ได้จากการสารวจภาคสนาม หรือแผนที่การใช้ประโยชน์ที่ดิน เป็นต้น ผู้ที่สามารถแปลตีความภาพที่ดี

                       และเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการด าเนินงาน เป็นวิธีการที่มีประสิทธิภาพในการจ าแนกประเภทสิ่งปกคลุม
                       ดินโดยเฉพาะเมื่อนักวิเคราะห์คุ้นเคยกับพื้นที่ที่ถูกจ าแนก วิธีนี้ใช้ทักษะที่พัฒนาขึ้นในตอนแรกเพื่อแปล
                       ภาพถ่ายทางอากาศ ต้องอาศัยล่ามในการใช้สัญลักษณ์ทางสายตา เช่น น้ าเสียง พื้นผิว รูปร่างรูปแบบและ

                       ความสัมพันธ์กับวัตถุอื่นเพื่อระบุประเภทสิ่งปกคลุมดินที่แตกต่างกัน (Sudhakar and Kameshwara,
                       2010) การแปลตีความภาพด้วยสายตาจากดาวเทียมด้วยสายตาต้องอาศัยประสบการณ์ ความรู้ ความเข้าใจ
                       ในลักษณะของพื้นที่ศึกษา และกิจกรรมที่เกิดขึ้น ณ พื้นที่นั้นๆ ในช่วงเวลาต่างๆ โดยการแปลภาพจาก
                       ดาวเทียม ซึ่งการแปลตีความ (Interpretation) ด้วยสายตาต้องอาศัยพื้นฐานความรู้และความเข้าใจของผู้

                       แปล และการตรวจสอบในภาคสนาม เพื่อท าแผนที่และจัดการสารสนเทศ องค์ประกอบของการแปลตีความ
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45