Page 97 - การใช้เทคโนโลยีการสำรวจระยะไกลเพื่อศึกษารูปแบบการเพาะปลูกพืชเศรษฐกิจ Using of remote sensing for economic crops growth pattern study
P. 97

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                           85









                              4.2 การศึกษารูปแบบการเพาะปลูกพืชเศรษฐกิจจากการเปลี่ยนแปลงของค่าสะท้อนแสงในรอบปี
                                  4.2.1 รูปแบบการเพาะปลูกอ้อยจากการเปลี่ยนแปลงของค่าสะท้อนแสงในรอบปี

                                      จากการศึกษาการเจริญเติบโตอ้อยโดยการศึกษาการเปลี่ยนแปลงทางชีพลักษณ์ต่างๆ
                       ได้แก่ ความสูง ความกว้างทรงพุ่ม ขนาดเส้นรอบล าต้น และปริมาณคลอโรฟิลล์ในใบ ของอ้อยจ านวน 40
                       แปลง  (ตารางที่ 15) พบว่า เกษตรกรมีการปลูกอ้อย 2 แบบ ได้แก่ เริ่มต้นปลูกใหม่ และตัดแล้วปล่อยให้อ้อย
                       เจริญเติบโตขึ นมาใหม่ซึ่งเรียกว่า อ้อยตอ ซึ่งเกษตรกรจะปล่อยให้อ้อยเจริญเติบโตขึ นมาใหม่ 2-5 ครั งแล้วจึง
                       รื อแปลงปลูกใหม่ ส าหรับอ้อยที่เริ่มปลูกใหม่จะมีการปลูก 2 ช่วง ได้แก่ เมษายนถึงกรกฎาคม และตุลาคมถึง

                       มีนาคม และเกษตรกรเริ่มเก็บเกี่ยวในเดือนธันวาคมถึงเดือนเมษายน ซึ่งการเริ่มต้นวันปลูกที่ต่างกันในอ้อยปีที่
                       1 และตัดแล้วปล่อยให้อ้อยเจริญเติบโตขึ นมาใหม่ในช่วงเวลาที่ต่างกันส่งผลให้ระยะเวลาการเจริญเติบโตของ
                       อ้อยในแปลงที่ต่างกันส่งผลต่ออายุต้นในวันเก็บ แต่อย่างไรก็ตามอ้อยในแปลงศึกษาเป็นอ้อยตอที่มีเก็บเกี่ยว

                       เริ่มตั งแต่เดือนมกราคมซึ่งการเปลี่ยนแปลงทางชีพลักษณ์ต่างๆ ของอ้อยมีดังนี
                                      1) ความสูง ช่วงเดือนเมษายน 2564 ถึงเดือนธันวาคม 2564 (ภาพที่ 20) ความสูงเฉลี่ย
                       ของอ้อยมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ น และเริ่มลดลงในเดือนมกราคม 2565 และลดต่ าสุดในเดือนมีนาคม 2565 และ
                       ค่อยๆ เพิ่มอีกครั งระหว่างเดือนเมษายน ถึง เดือนพฤศจิกายน 2565 และพบว่าในช่วงเดือนมกราคม 2565 ถึง

                       เดือนมีนาคม 2565 ค่าความสูงมีความแปรปรวนสูงเนื่องจากช่วงเวลาดังกล่าวเกษตรกรมีการทยอยเก็บเกี่ยว
                       อ้อย และความแปรปรวนเริ่มลดลงในเดือนเมษายนซึ่งอาจเป็นไปได้ว่าเกษตรกรส่วนใหญ่เก็บเกี่ยวแล้วและ
                       ปล่อยให้อ้อยงอกขึ นมาใหม่
                                      2) ความกว้างทรงพุ่ม มีการเปลี่ยนแปลงคล้ายความสูงคือ ช่วงเดือนเมษายน 2564 ถึง

                       เดือนธันวาคม 2564 (ภาพที่ 21) ความกว้างทรงพุ่มเฉลี่ยของอ้อยมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ น และเริ่มลดลงในเดือน
                       มกราคม 2565 และลดต่ าสุดในเดือนมีนาคม 2565 และค่อยๆ เพิ่มอีกครั งระหว่างเดือนเมษายน ถึง เดือน
                       พฤศจิกายน 2565 และพบว่าความกว้างทรงพุ่มของอ้อยมีความแปรปรวนสูงในช่วงเดือนมกราคมถึงเดือน
                       เมษายนเนื่องจากในช่วงเดือนมกราคมถึงเดือนมีนาคมอ้อยบางส่วนถูกเก็บเกี่ยวและยังไม่มีการงอกขึ นมาใหม่

                       ขณะที่ในเดือนเมษายนมีอ้อยบางส่วนเริ่มงอกและเติบโตท าให้สามารถวัดขนาดทรงพุ่มได้อีกครั ง
                                      3) ขนาดล าต้น มีการเปลี่ยนแปลงคล้ายความสูงคือ ช่วงเดือนเมษายน 2564 ถึงเดือน
                       ธันวาคม 2564 (ภาพที่ 22) ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางล าต้นเฉลี่ยของอ้อยมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ น และเริ่มลดลงใน

                       เดือนมกราคม 2565 และลดต่ าสุดในเดือนมีนาคม 2565 และค่อยๆ เพิ่มอีกครั งระหว่างเดือนเมษายน ถึง
                       เดือนพฤศจิกายน 2565 และพบว่าขนาดล าต้นของอ้อยมีความแปรปรวนสูงในช่วงเดือนมกราคมถึงเดือนเมษายน
                       เนื่องจากในช่วงเดือนมกราคมถึงเดือนมีนาคมอ้อยบางส่วนถูกเก็บเกี่ยวและยังไม่มีการงอกขึ นมาใหม่ ขณะที่ใน
                       เดือนเมษายนมีอ้อยบางส่วนเริ่มงอกและเติบโตท าให้สามารถวัดขนาดล าต้นได้อีกครั ง
                                      4) ปริมาณคลอโรฟิลล์ มีการเปลี่ยนแปลงคล้ายความสูงคือ ช่วงเดือนเมษายน 2564 ถึงเดือน

                       ธันวาคม 2564 (ภาพที่ 23) ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางล าต้นเฉลี่ยของอ้อยมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ น และเริ่มลดลงใน
   92   93   94   95   96   97   98   99   100   101   102