Page 102 - การใช้เทคโนโลยีการสำรวจระยะไกลเพื่อศึกษารูปแบบการเพาะปลูกพืชเศรษฐกิจ Using of remote sensing for economic crops growth pattern study
P. 102

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                           90







                                   4.2.2 รูปแบบการเพาะปลูกมันส าปะหลังจากการเปลี่ยนแปลงของค่าสะท้อนแสงในรอบปี
                                         จากการศึกษาการเจริญเติบโตมันส าปะหลังโดยการศึกษาการเปลี่ยนแปลงทาง
                       ชีพลักษณ์ต่างๆ ได้แก่ ความสูง ความกว้างทรงพุ่ม ขนาดเส้นรอบล าต้น และปริมาณคลอโรฟิลล์ในใบ
                       จ านวน 80 แปลง พบว่า เกษตรกรมีการปลูก เก็บเกี่ยว และปล่อยแปลงว่างตลอดทั งปี พบว่าจ านวนแปลง

                       ที่มีการปลูกน้อยที่สุดอยู่ในเดือนเมษายน 2564 จ านวน 38 แปลง และปลูกมากที่สุดในเดือนกันยายน 2564
                       จ านวน 68 แปลง ท าให้ค่าทางชีพลักษณ์ในแต่ละเดือนค่อนข้างแปรปรวน (ตารางที่ 16) ซึ่งรายละเอียดมีดังนี
                                        1) ความสูง ช่วงเดือนเมษายน 2564 ถึงเดือนธันวาคม 2564 (ภาพที่ 25) ความสูง
                       เฉลี่ยของมันส าปะหลังมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ น และเริ่มลดลงในเดือนมกราคม 2565 และลดต่ าสุดในเดือน

                       เมษายน 2565 และค่อยๆ เพิ่มอีกครั งระหว่างเดือนตุลาคม ถึง เดือนพฤศจิกายน 2565 และพบว่าในช่วง
                       เดือนธันวาคม 2564 ถึงเดือนกุมภาพันธ์ 2565 ค่าความสูงมีความแปรปรวนสูงเนื่องจากช่วงเวลาดังกล่าว
                       เกษตรกรมีการทยอยเก็บเกี่ยวและความแปรปรวนเริ่มลดลงในเดือนมีนาคมซึ่งอาจเป็นไปได้ว่าเกษตรกร
                       เริ่มปลูกมันส าปะหลังในเดือนกุมภาพันธ์และเริ่มงอกในเดือนธันวาคม

                                        2) ความกว้างทรงพุ่ม มีการเปลี่ยนแปลงคล้ายความสูงคือ ช่วงเดือนเมษายน 2564
                       ถึงเดือนธันวาคม 2564 (ภาพที่ 26) ความกว้างทรงพุ่มเฉลี่ยของมันส าปะหลังมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ น และ
                       เริ่มลดลงในเดือนกุมภาพันธ์ 2565 และลดต่ าสุดในเดือนมีนาคม 2565 และค่อยๆ เพิ่มอีกครั งระหว่าง

                       เดือนเมษายน ถึง เดือนพฤศจิกายน 2565
                                        3) ขนาดล าต้น มีการเปลี่ยนแปลงคล้ายความสูงคือ ช่วงเดือนเมษายน 2564 ถึง
                       เดือนธันวาคม 2564 (ภาพที่ 27) ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางล าต้นเฉลี่ยของมันส าปะหลังมีแนวโน้มเพิ่ม
                       สูงขึ น และเริ่มลดลงในเดือนมกราคม 2565 และลดต่ าสุดในเดือนมีนาคม 2565 และค่อยๆ เพิ่มอีกครั ง
                       ระหว่างเดือนเมษายน ถึง เดือนพฤศจิกายน 2565

                                        4) ปริมาณคลอโรฟิลล์ มีการเปลี่ยนแปลงคล้ายความสูงคือ ช่วงเดือนเมษายน 2564
                       ถึงเดือนธันวาคม 2564 (ภาพที่ 28) ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางล าต้นเฉลี่ยของมันส าปะหลังมีแนวโน้มเพิ่ม
                       สูงขึ น และเริ่มลดลงในเดือนมกราคม 2565 และลดต่ าสุดในเดือนมีนาคม 2565 และค่อยๆ เพิ่มอีกครั ง

                       ระหว่างเดือนเมษายน ถึง เดือนพฤศจิกายน 2565
                                        5) จากการศึกษาพบว่า การเปลี่ยนแปลงทางชีพลักษณ์ต่างๆ ได้แก่ ความสูง ความ
                       กว้างทรงพุ่ม ขนาดเส้นรอบล าต้น และปริมาณคลอโรฟิลล์ในใบในเดือนมกราคมถึงเดือนมีนาค.มีความ
                       แปรปรวนสูง เนื่องจากมีหลายช่วงอายุตั งแต่แปลงที่มีการเก็บเกี่ยวท าให้ค่าชีพลักษณ์ต่างๆ มีค่าเป็นศูนย์

                       และแปลงที่มีการเจริญเติบโตเต็มที่พร้อมเก็บเกี่ยวซึ่งค่าชีพลักษณ์ต่างๆ มีค่า ซึ่งเมื่อเปรียวเทียบกับค่า
                       ดัชนีพืชพรรณโดยการน าค่าความสูง ความกว้างทรงพุ่ม ขนาดเส้นรอบล าต้น และปริมาณคลอโรฟิลล์ มา
                       ปรับมาตราส่วน เพื่อใช้ดูลักษณะแนวโน้ม ซึ่งพบว่าค่าชีพลักษณ์ต่างๆมีการเปลี่ยนแปลงคล้ายการ
                       เปลี่ยนแปลงของค่าดัชนีต่างๆ ในรอบปี (ภาพที่ 29)
   97   98   99   100   101   102   103   104   105   106   107