Page 93 - การใช้เทคโนโลยีการสำรวจระยะไกลเพื่อศึกษารูปแบบการเพาะปลูกพืชเศรษฐกิจ Using of remote sensing for economic crops growth pattern study
P. 93

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                           81







                                   5) การการสร้างฐานข้อมูลลายเซ็นต์เชิงคลื่นของปาล์มน  ามันจากข้อมูลภาพดาวเทียม Sentinel-2
                                      จากการสร้างฐานข้อมูลลายเซ็นต์เชิงคลื่นของปาล์มน  ามันที่ได้จากการค านวณดัชนีพืช
                       พรรณ 3 ชนิด ได้แก่ ดัชนี NDVI ดัชนี GNDVI และดัชนี NDII จากข้อมูลภาพดาวเทียม Sentinel-2 ทุก
                       เดือน จ านวน 5 ปี (ภาพที่ 19 และ ตารางที่ 14) พบว่าค่าดัชนีต่างๆ มีการเปลี่ยนแปลงตลอดทั งปี โดย

                       ทั ง 3 คล้ายกัน คือมีค่าต่ าสุดในเดือนกุมภาพันธ์และค่อนค่างคงที่ถึงเดือนเมษายนแล้วค่าดัชนีพืชพรรณ
                       เริ่มสูงขึ นจนถึงเดือนมิถุนายนแล้วลดลงเล็กน้อยในเดือนกรกฎาคม แล้วเพิ่มขึ นอีกครั งในเดือนสิงหาคม
                       และเพิ่มต่อเนื่องและสูงสุดในเดือนตุลาคมแล้ว ลดลงอีกครั งในเดือนพฤศจิกายนต่อเนื่องถึงธันวาคม และ
                       มกราคมในปีถัดไป ซึ่งการเปลี่ยนแปลงนี มีลักษณะคล้ายการเพิ่มขึ นและลดลงในแต่ละช่วงของจังหวัด

                       ราชบุรี ซึ่งฝนในจังหวัดราชบุรีมี 2 ช่วง โดยช่วงแรกเริ่มตกในเดือนกุมภาพันธ์ และเพิ่มขึ นอย่างต่อเนื่อง
                       จนสูงสุดของช่วงแรกในเดือนพฤษภาคมจากนั นปริมาณฝนตกลดลงในมิถุนายนและปริมาณฝนค่อนข้าง
                       คงที่ถึงเดือนสิงหาคม จากนั นฝนเริ่มตกเพิ่มขึ นในเดือนกันยายน และตกสูงสุดในช่วงที่ 2 ในเดือนตุลาคม
                       และลดลงในเดือนพฤศจิกายนต่อเนื่องถึงธันวาคม

                                 ดัชนี NDVI มีค่าสูงกว่าดัชนี GNDVI และดัชนี NDII ในทุกเดือนเนื่องจากปาล์มน  ามันเป็น
                       ไม้ยืนต้นที่ไม่มีการผลัดใบท าให้ มีใบส าหรับสังเคราะห์ดูดซับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากแสงอาทิตย์อย่าง

                       ต่อเนื่อง แต่อย่างไรก็ตามค่าดัชนีต่างๆมีแนวน้อมลดลงในบางเดือน เช่น ช่วงเดือนมกราคมถึงเดือน
                       เมษายน และพฤศจิกายนถึงเดือนธันวาคม ช่วงดังกล่าวมีฝนตกน้อยท าให้พืชมีน  าใช้ส าหรับการสังเคราะห์
                       แสงและการเจริญเติบโตน้อยลงซึ่งมีผลต่อการมีผลต่อการดูดซับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในแต่ละช่วง

                       โดยเฉพาะช่วงคลื่นแสงสีแดงและแสงสีเขียว (Rouse et al., 1974; Gitelson et al., 1996; Simms
                       and Ward, 2013) แต่อย่างไรก็ตามเนื่องจากปาล์มน  ามันเป็นพืชที่ไม่ผลัดใบในฤดูแล้งจึงท าให้ความ

                       แตกต่างของค่าดัชนีพืชพรรณทั ง 3 ชนิดเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางเดียวกันตลอดทั งปี



























                           ภาพที่ 19 การเปลี่ยนแปลงค่าเฉลี่ย 5 ปี ของค่าดัชนีพืชพรรณในรอบปีของแปลงปลูกปาล์มน  ามัน
   88   89   90   91   92   93   94   95   96   97   98