Page 26 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดตรัง
P. 26
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
21
ตารางที่ 10 พื้นที่ศักยภาพในการขยายการผลิตมังคุด
ยางพารา (ไร่) ปาล์มน ามัน (ไร่)
อ าเภอ
S3 N รวม S3 N รวม
กันตัง 11,931 - 11,931 713 - 713
นาโยง 3,955 - 3,955 73 - 73
ปะเหลียน 19,498 - 19,498 3,050 - 3,050
เมืองตรัง 27,739 - 27,739 2,556 - 2,556
ย่านตาขาว 16,722 - 16,722 2,004 - 2,004
รัษฎา 16,147 - 16,147 914 - 914
วังวิเศษ 9,974 - 9,974 3,321 - 3,321
สิเกา 10,019 - 10,019 6,606 - 6,606
ห้วยยอด 39,698 - 39,698 4,256 - 4,256
หาดส าราญ 2,113 - 2,113 2,522 - 2,522
รวม 157,796 - 157,796 26,015 - 26,015
4) แนวทางการจัดการ
(1) พื้นที่ที่มีความเหมาะสมควรส่งเสริมการผลิต (S1 หรือ S2) ควรสนับสนุนให้
เกษตรกรปลูกมังคุดต่อไปเนื่องจากเป็นพื้นที่ที่เหมาะสม สามารถช่วยลดต้นทุนการผลิตและได้ผลผลิต
ที่มีคุณภาพดี ซึ่งการปลูกมังคุดในพื้นที่ดังกล่าวข้างต้นสามารถน าไปสู่การต่อยอดโครงการที่ส าคัญต่าง ๆ ได้
เช่น เกษตรอินทรีย์ ระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ เกษตรแม่นย า เป็นต้น
พื้นที่ปลูกมังคุดในบริเวณที่มีความเหมาะสมสูง (S1) คือ พื้นที่ปลูกมังคุดในที่ดินที่ไม่
มีข้อจ ากัดทางกายภาพต่อการปลูกมังคุด ซึ่งควรสงวนไว้เป็นแหล่งปลูกมังคุดที่ส าคัญของจังหวัด
อยู่ในอ าเภอห้วยยอด อ าเภอปะเหลียน และอ าเภอย่านตาขาว
พื้นที่ปลูกมังคุดในบริเวณที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) คือ พื้นที่ปลูกมังคุดใน
ที่ดินที่มีข้อจ ากัดทางกายภาพบางประการต่อการปลูกมังคุด เช่น ความอุดมสมบูรณ์ของดิน ความเป็น
กรดเป็นด่าง ความชื้น อยู่ในอ าเภอย่านตาขาว อ าเภอห้วยยอด และอ าเภอปะเหลียน
(2) พื้นที่ที่ควรปรับเปลี่ยนการผลิตในพื้นที่ไม่เหมาะสม (S3 หรือ N) ควรสนับสนุนให้
เข้าโครงการบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรม เช่น เปลี่ยนชนิดพืชที่มีความเหมาะสมกว่าการปลูกมังคุด
มีต้นทุนที่ต่ า และให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า เป็นต้น แต่ทั้งนี้ต้องพิจารณาแหล่งรับซื้อร่วมด้วย