Page 28 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดยะลา
P. 28
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
21
ตารางที่ 10 พื้นที่มีศักยภาพในการขยายการผลิตมะพร้าว
ข้าว (ไร่) ยางพารา (ไร่)
อ าเภอ
S3 N รวม S3 N รวม
กาบัง 272 3 275 - - -
กรงปินัง 1,375 - 1,375 - - -
ธารโต - - - - - -
บันนังสตา 470 470 1 1 2
เบตง 2 - 2 - - -
เมืองยะลา 4,902 6 4,908 - - -
ยะหา 3,051 8 3,059 - - -
รามัน 15,591 555 16,146 - - -
รวม 25,663 572 26,235 1 1 2
4) แนวทางการจัดการ
(1) พื้นที่ที่มีความเหมาะสมควรส่งเสริมการผลิต (S1 หรือ S2) ควรสนับสนุนให้เกษตรกร
ปลูกมะพร้าวต่อไป เนื่องจากเป็นพื้นที่ที่เหมาะสม สามารถช่วยลดต้นทุนการผลิตและได้ผลผลิตที่มีคุณภาพดี
ซึ่งการปลูกมะพร้าวในพื้นที่ดังกล่าวข้างต้นสามารถน าไปสู่การต่อยอดโครงการที่ส าคัญต่าง ๆ ได้ เช่น
เกษตรอินทรีย์ ระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ เกษตรแม่นย า เป็นต้น
พื้นที่ปลูกมะพร้าวในบริเวณที่มีความเหมาะสมสูง (S1) คือพื้นที่ปลูกมะพร้าวในที่ดิน
ที่ไม่มีข้อจ ากัดทางกายภาพต่อการปลูกมะพร้าวซึ่งควรสงวนไว้เป็นแหล่งปลูกมะพร้าวที่ส าคัญของ
จังหวัด โดยกระจายอยู่ในอ าเภอรามัน อ าเภอเมืองยะลา อ าเภอบันนังสตา เป็นต้น
พื้นที่ปลูกมะพร้าวในบริเวณที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) คือพื้นที่ปลูกมะพร้าว
ในที่ดินที่มีข้อจ ากัดทางกายภาพบางประการต่อการปลูกมะพร้าว เช่น ความอุดมสมบูรณ์ของดิน ความ
เป็นกรดเป็นด่างและแหล่งน้ า โดยกระจายอยู่ในอ าเภอรามัน อ าเภอยะหา อ าเภอบันนังสตา เป็นต้น
(2) พื้นที่ที่ควรปรับเปลี่ยนการผลิตในพื้นที่ไม่เหมาะสม (S3 หรือ N) ควรสนับสนุนให้
เข้าโครงการบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรม เช่น เปลี่ยนชนิดพืชที่มีความเหมาะสมกว่าการปลูก
มะพร้าว มีต้นทุนที่ต่ า และให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า เป็นต้น แต่ทั้งนี้ต้องพิจารณาแหล่งรับซื้อร่วมด้วย