Page 24 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดยะลา
P. 24

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               17








                         2.4  มะพร้าว
                                   มะพร้าวพืชเศรษฐกิจหลักของยะลาในล าดับที่ 4 จากฐานข้อมูลในแผนที่เกษตรเชิงรุก
                       หรือ Agri-Map Online สามารถวิเคราะห์ข้อมูลได้ดังนี้ (ตารางที่ 9 และภาพที่ 12 - 13)

                               1) การวิเคราะห์ศักยภาพของพื นที่ปลูกมะพร้าว
                                 ระดับที่ 1 เป็นพื้นที่ความเหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 89,215 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 4.59

                       ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยู่ในอ าเภอรามัน 31,232 ไร่ อ าเภอเมืองยะลา 25,943 ไร่
                       และอ าเภอบันนังสตา 11,135 ไร่

                                 ระดับที่ 2 เป็นพื้นที่ความเหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 386,958 ไร่ คิดเป็นร้อยละ

                       19.93 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยู่ในอ าเภอรามัน 124,915 ไร่ อ าเภอยะหา
                       90,509 ไร่ และอ าเภอบันนังสตา 46,762 ไร่

                                 ระดับที่ 3 เป็นพื้นที่ความเหมาะสมเล็กน้อย (S3) มีเนื้อที่ 100,284 ไร่ คิดเป็นร้อยละ

                       5.17 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยู่ในอ าเภอยะหา 30,939 ไร่ อ าเภอรามัน 11,736 ไร่
                       และอ าเภอเบตง 11,341 ไร่

                                 ระดับที่ 4 เป็นพื้นที่ไม่เหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 1,365,149 ไร่

                                    2) การวิเคราะห์พื นที่ปลูกมะพร้าวในปัจจุบัน ซึ่งจ าแนกตามชั้นความเหมาะสม
                       ของที่ดิน ได้ดังนี้

                                     (1) พื้นที่เหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 276 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 0.31 ของพื้นที่ศักยภาพสูง
                       กระจายตัวมากอยู่ในอ าเภอรามัน 223 ไร่ อ าเภอเมืองยะลา 19 ไร่ และอ าเภอกรงปินัง 17 ไร่

                                     (2) พื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 1,434 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 0.37 ของพื้นที่

                       ศักยภาพปานกลาง กระจายตัวมากอยู่ในอ าเภอรามัน 785 ไร่ อ าเภอยะหา 194 ไร่ และอ าเภอเมืองยะลา
                       186 ไร่

                                     (3) พื้นที่เหมาะสมเล็กน้อย (S3) มีเนื้อที่ 12 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 0.01 ของพื้นที่
                       ศักยภาพเล็กน้อย กระจายตัวมากอยู่ในอ าเภอรามัน อ าเภอบังนังสตา 4 ไร่ อ าเภอยะหา 3 ไร่ และ

                       เมืองยะลา 1 ไร่

                                     (4) พื้นที่ไม่เหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 184 ไร่
                                    3) พื นที่มีศักยภาพคงเหลือ คือ พื้นที่ที่มีศักยภาพในการปลูกมะพร้าวแต่ไม่ใช้พื้นที่ปลูก

                       พิจารณาจากพื้นที่ศักยภาพของที่ดินส าหรับการปลูกมะพร้าว และพื้นที่ปลูกมะพร้าวในชั้นความ

                       เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง) พบว่า จังหวัดยะลามีพื้นที่ศักยภาพคงเหลือในระดับความเหมาะสมสูง (S1)
                       และความเหมาะสมปานกลาง (S2) รวมทั้งสิ้น 474,463 ไร่ กระจายอยู่ทั่วทุกอ าเภอ โดยอ าเภอที่มี

                       พื้นที่ศักยภาพคงเหลือมากที่สุด ได้แก่ อ าเภอรามัน 155,139 ไร่ รองลงมา ได้แก่ อ าเภอยะหา

                       95,036 ไร่ อ าเภอเมืองยะลา 72,499 ไร่ อ าเภอบันนังสตา 57,841 ไร่ อ าเภอกรงปินัง 42,177 ไร่
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29