Page 27 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดยะลา
P. 27
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
20
ตารางที่ 9 (ต่อ)
เนื อที่ชั นความเหมาะสม (ไร่)
อ าเภอ ประเภทพื นที่
S1 S2 S3 N รวม
31,232 124,915 11,736 84,375 252,258
พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
(100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%)
พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ 223 785 4 14 1,026
รามัน
เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง) (0.71%) (0.63%) (0.03%) (0.02%) (0.41%)
31,009 124,130 155,139
พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ - -
(99.29%) (99.37%) (61.5%)
89,215 386,958 100,284 1,365,149 1,941,606
พื นที่ศักยภาพของที่ดิน
(100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%)
รวมทั ง พื นที่เพาะปลูกในชั นความ 276 1,434 12 184 1,906
จังหวัด เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง) (0.31%) (0.37%) (0.01%) (0.01%) (0.10%)
88,939 385,524 474,463
พื นที่มีศักยภาพคงเหลือ - -
(99.69%) (99.63%) (24.44%)
ทั้งนี้ ในการส่งเสริมการปลูกพืชจะพิจารณาเฉพาะพื้นที่ที่มีศักยภาพคงเหลือในระดับ
ความเหมาะสมสูง (S1) และระดับความเหมาะสมปานกลาง (S2) เท่านั้น เนื่องจากสภาพพื้นที่ปลูกพืช
ตรงตามศักยภาพของดิน การลงทุนต่ าก็สามารถเพิ่มผลผลิตได้ จึงควรส่งเสริมในพื้นที่ดังกล่าว
เมื่อวิเคราะห์ข้อมูลศักยภาพพื้นที่ร่วมกับพื้นที่ปลูกพืชในปัจจุบัน พบว่า พื้นที่ที่ควร
พิจารณาให้มีการปรับเปลี่ยนไปปลูกมะพร้าว คือ บริเวณที่เป็นพื้นที่ปลูกข้าว (S3+N) 26,235 ไร่
พื้นที่ปลูกยางพารา (S3+N) 2 ไร่ (ตารางที่ 10)