Page 20 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดยะลา
P. 20

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               13








                               (2) พื้นที่ที่ควรปรับเปลี่ยนการผลิตในพื้นที่ไม่เหมาะสม (S3 หรือ N) ควรสนับสนุนให้เข้า
                       โครงการบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรม เช่น เปลี่ยนชนิดพืชที่มีความเหมาะสมกว่าการปลูกข้าว

                       มีต้นทุนที่ต่ า และให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า เป็นต้น แต่ทั้งนี้ต้องพิจารณาแหล่งรับซื้อร่วมด้วย
                         2.3  ปาล์มน  ามัน

                             ปาล์มน้ ามันพืชเศรษฐกิจหลักของยะลาในล าดับที่ 3 จากฐานข้อมูลในแผนที่เกษตรเชิงรุก หรือ
                       Agri-Map Online สามารถวิเคราะห์ข้อมูลได้ดังนี้ (ตารางที่ 7 และภาพที่ 10 - 11)

                                    1) การวิเคราะห์ศักยภาพของพื นที่ปลูกปาล์มน  ามัน
                                 ระดับที่ 1 เป็นพื้นที่ความเหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 355,527 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 18.30

                       ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยู่ในอ าเภอรามัน 128,563 ไร่ อ าเภอยะหา 77,720 ไร่
                       และอ าเภอเมืองยะลา 57,073 ไร่

                                 ระดับที่ 2 เป็นพื้นที่ความเหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 290,247 ไร่ คิดเป็นร้อยละ

                       14.94 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยู่ในอ าเภอรามัน 77,584 ไร่ อ าเภอเมืองยะลา
                       72,070 ไร่ และอ าเภอยะหา 42,661 ไร่

                                 ระดับที่ 3 เป็นพื้นที่ความเหมาะสมเล็กน้อย (S3) มีเนื้อที่ 74,469 ไร่ คิดเป็นร้อยละ

                       3.83 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน อยู่ในอ าเภอเบตง 24,744 ไร่ อ าเภอรามัน 15,646 ไร่ และอ าเภอยะหา
                       12,797 ไร่

                                 ระดับที่ 4 เป็นพื้นที่ไม่เหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 1,222,022 ไร่
                                    2) การวิเคราะห์พื นที่ปลูกปาล์มน  ามันในปัจจุบัน ซึ่งจ าแนกตามชั้นความเหมาะสม

                       ของที่ดิน ได้ดังนี้

                                     (1) พื้นที่เหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 2,388 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 0.67 ของพื้นที่ศักยภาพสูง
                       กระจายอยู่ในอ าเภอรามัน 1,509 ไร่ อ าเภอเมืองยะลา 602 ไร่ และอ าเภอยะหา 100 ไร่

                                     (2) พื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 1,070 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 0.37 ของพื้นที่
                       ศักยภาพปานกลาง กระจายตัวมากอยู่ในอ าเภอเมืองยะลา 551 ไร่ อ าเภอรามัน 300 ไร่ และ

                       อ าเภอเบตง 80 ไร่

                                     (3) พื้นที่เหมาะสมเล็กน้อย (S3) มีเนื้อที่ 299 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 0.40 ของพื้นที่
                       ศักยภาพเล็กน้อย กระจายตัวมากอยู่ในอ าเภอเบตง 282 ไร่ อ าเภอรามัน 15 ไร่ และอ าเภอเมืองยะลา 2 ไร่

                                     (4) พื้นที่ไม่เหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 118 ไร่

                                    3) พื นที่มีศักยภาพคงเหลือ คือ พื้นที่ที่มีศักยภาพในการปลูกปาล์มน้ ามันแต่ไม่ใช้พื้นที่ปลูก
                       พิจารณาจากพื้นที่ศักยภาพของที่ดินส าหรับการปลูกปาล์มน้ ามัน และพื้นที่ปลูกปาล์มน้ ามันในชั้น

                       ความเหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง) พบว่า จังหวัดยะลามีพื้นที่ศักยภาพคงเหลือในระดับความเหมาะสมสูง (S1)

                       และความเหมาะสมปานกลาง (S2) รวมทั้งสิ้น 642,316 ไร่ กระจายอยู่ทั่วทุกอ าเภอ โดยอ าเภอ
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25