Page 21 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดพังงา
P. 21
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
16
ตารางที่ 7 (ต่อ)
เนื้อที่ชั้นความเหมาะสม (ไร่)
อำเภอ ประเภทพื้นที่
S1 S2 S3 N รวม
พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน 122,238 66,661 188,899
- -
(100.00%) (100.00%) (100.00%)
พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ 1,482 150 1,632
ตะกั่วป่า เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง) - - (1.21%) (0.23%) (0.86%)
พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ - - - - -
พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน 62,615 71,908 134,523
- -
(100.00%) (100.00%) (100.00%)
พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ 5,713 575 6,288
กะปง เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง) - - (9.12%) (0.80%) (4.67%)
พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ - - - - -
พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน 15,734 2,414 50,910 15,935 84,993
(100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%)
พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ 195 19 1,238 5 1,457
ทับปุด
เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง) (1.24%) (0.79%) (2.43%) (0.03%) (1.71%)
พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ 15,539 2,395 17,934
- -
(98.76%) (99.21%) (21.10%)
พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน 58,160 30,288 593,273 1,089,698 1,771,419
(100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%)
รวมทั้ง พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ 229 32 14,123 1,404 15,788
จังหวัด เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง) (0.39%) (0.11%) (2.38%) (0.13%) (0.89%)
พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ 57,931 30,256 88,187
(99.61%) (99.89%) - - (4.98%)
ทั้งนี้ ในการส่งเสริมการปลูกพืชจะพิจารณาเฉพาะพื้นที่ที่มีศักยภาพคงเหลือในระดับ
ความเหมาะสมสูง (S1) และระดับความเหมาะสมปานกลาง (S2) เท่านั้นเนื่องจากสภาพพื้นที่ปลูกพืช
ตรงตามศักยภาพของดิน มีความเสี่ยงต่ำ ผลผลิตดี จึงควรส่งเสริมในพื้นที่ดังกล่าว
เมื่อวิเคราะห์ข้อมูลศักยภาพพื้นที่ร่วมกับพื้นที่ปลูกพืชในปัจจุบัน พบว่า พื้นที่ที่ควร
พิจารณาให้มีการปรับเปลี่ยนไปปลูกมังคุด คือ บริเวณที่เป็นพื้นที่ปลูกยางพารา (S3) 6,911 ไร่
พื้นที่ปลูกปาล์มน้ำมัน (S3) 1,414 ไร่ (ตารางที่ 8)