Page 17 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดพังงา
P. 17
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
12
ตารางที่ 5 (ต่อ)
เนื้อที่ชั้นความเหมาะสม (ไร่)
อำเภอ ประเภทพื้นที่
S1 S2 S3 N รวม
พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน 41,701 22,449 4,541 16,302 84,993
(100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%)
พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ 21,611 12,541 2,069 2,256 38,477
ทับปุด เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง) (51.82%) (55.86%) (45.56%) (13.84%) (45.27%)
พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ 20,090 9,908 29,998
- -
(48.18%) (44.14%) (35.29%)
พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน 284,660 246,350 170,437 1,069,973 1,771,420
(100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%)
รวมทั้ง พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ 75,893 52,936 35,406 23,542 187,777
จังหวัด เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง) (26.66%) (21.49%) (20.77%) (2.20%) (10.60%)
พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ 208,767 193,414 402,181
- -
(73.34%) (78.51%) (22.70%)
ทั้งนี้ ในการส่งเสริมการปลูกพืชจะพิจารณาเฉพาะพื้นที่ที่มีศักยภาพคงเหลือในระดับ
ความเหมาะสมสูง (S1) และระดับความเหมาะสมปานกลาง (S2) เท่านั้น เนื่องจากสภาพพื้นที่ปลูกพืช
ตรงตามศักยภาพของดิน การลงทุนต่ำก็สามารถเพิ่มผลผลิตได้ จึงควรส่งเสริมในพื้นที่ดังกล่าว
เมื่อวิเคราะห์ข้อมูลศักยภาพพื้นที่ร่วมกับพื้นที่ปลูกพืชในปัจจุบัน พบว่า พื้นที่ที่ควร
พิจารณาให้มีการปรับเปลี่ยนไปปลูกปาล์มน้ำมัน คือ บริเวณที่เป็นพื้นที่ปลูกมังคุด (S3+N) 9,903 ไร่
พื้นที่ปลูกเงาะ (S3+N) 8,957 ไร่ (ตารางที่ 6)
ตารางที่ 6 พื้นที่ศักยภาพในการขยายการผลิตปาล์มน้ำมัน
มังคุด (ไร่) เงาะ (ไร่)
อำเภอ
S3 N รวม S3 N รวม
เกาะยาว - - - - - -
ตะกั่วทุ่ง 711 124 835 709 115 824
คุระบุรี 1,453 - 1,453 939 - 939
เมืองพังงา 1,045 57 1,102 1,025 78 1,103
ท้ายเหมือง 2,065 50 2,115 1,929 54 1,983
ตะกั่วป่า 1,042 - 1,042 508 - 508
กะปง 2,125 - 2,125 2,356 - 2,356
ทับปุด 1,229 2 1,231 1,242 2 1,244
รวม 9,670 233 9,903 8,708 249 8,957