Page 18 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดชุมพร
P. 18

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               13







                                     (2) พื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 40,674 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 24.08 ของพื้นที่
                       เหมาะสมปานกลาง กระจายตัวมากอยู่ในอำเภอท่าแซะ 13,999 ไร่ อำเภอสวี 10,842 ไร่ และ
                       อำเภอทุ่งตะโก 9,170 ไร่
                                     (3) พื้นที่เหมาะสมเล็กน้อย (S3) มีเนื้อที่ 19,628 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 11.62 ของพื้นที่

                       เหมาะสมเล็กน้อย กระจายตัวมากอยู่ในอำเภอพะโต๊ะ 7,228 ไร่ อำเภอหลังสวน 5,168 ไร่ และอำเภอสวี
                       3,598 ไร่
                                     (4) พื้นที่ไม่เหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 15,766 ไร่
                                    3) พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ คือ พื้นที่ที่มีศักยภาพในการปลูกทุเรียนแต่ไม่ใช้พื้นที่ปลูก

                       พิจารณาจากพื้นที่ศักยภาพของที่ดินสำหรับการปลูกทุเรียน และพื้นที่ปลูกทุเรียนในชั้นความเหมาะสมต่าง ๆ
                       (ปลูกจริง) พบว่า จังหวัดชุมพรมีพื้นที่ศักยภาพคงเหลือในระดับความเหมาะสมสูง (S1) และความ
                       เหมาะสมปานกลาง (S2) รวมทั้งสิ้น 1,254,019 ไร่ กระจายอยู่ทั่วทุกอำเภอ โดยอำเภอที่มีพื้นที่ศักยภาพ
                       คงเหลือมากที่สุด ได้แก่ อำเภอปะทิว 308,029 ไร่ รองลงมา ได้แก่ อำเภอท่าแซะ 301,074 ไร่ อำเภอสวี

                       172,996 ไร่ และอำเภอเมืองชุมพร 169,625 ไร่ ตามลำดับ โดยมีรายละเอียดดังนี้
                                     (1) พื้นที่เหมาะสมสูงคงเหลือ (S1) มีเนื้อที่ 705,630 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 88.38 ของพื้นที่
                       เหมาะสมสูง พบมากในอำเภอปะทิว 213,291 ไร่ อำเภอหลังสวน 114,941 ไร่ และอำเภอท่าแซะ

                       113,132 ไร่
                                     (2) พื้นที่เหมาะสมปานกลางคงเหลือ (S2) มีเนื้อที่ 548,389 ไร่ คิดเป็นร้อยละ
                       93.10 พื้นที่เหมาะสมปานกลาง พบมากในอำเภอท่าแซะ 187,941 ไร่ อำเภอปะทิว 94,738 ไร่ และ
                       อำเภอสวี 93,289 ไร่

                       ตารางที่ 7  พื้นที่ศักยภาพ พื้นที่ปลูกจริง พื้นที่คงเหลือของทุเรียนรายอำเภอ จังหวัดชุมพร


                                                                    เนื้อที่ชั้นความเหมาะสม (ไร่)
                         อำเภอ        ประเภทพื้นที่
                                                         S1        S2         S3         N         รวม
                                                        121,190     66,636     1,832    161,790    351,448
                                  พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
                                                       (100.00%)   (100.00%)   (100.00%)  (100.00%)   (100.00%)
                                  พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ  15,193   3,008      44       1,388     19,633
                        เมืองชุมพร
                                  เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง)   (12.54%)   (4.51%)   (2.40%)   (0.86%)   (5.59%)
                                                        105,997     63,628         -         -     169,625
                                  พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ
                                                       (87.46%)    (95.49%)        -         -    (48.26%)
                                                        137,017    201,940    13,621     93,071    445,649
                                  พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
                                                       (100.00%)   (100.00%)   (100.00%)   (100.00%)   (100.00%)
                                  พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ  23,885   13,999     645      3,847     42,376
                          ท่าแซะ
                                  เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง)   (17.43%)   (6.93%)   (4.74%)   (4.13%)   (9.51%)
                                                        113,132    187,941         -         -     301,074
                                  พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ
                                                       (82.57%)    (93.07%)        -         -    (67.56%)
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23